การศึกษาทบทวนนโยบายเศรษฐกิจเมืองของไทยสู่การเติบโตอย่างยั่งยืนและเกื้อกูล นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล มูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ 2564 1
การสร้างกลไกการพัฒนาอุตสาหกรรมการแพทย์และสุขภาพในภาคเหนือให้มีขีดความสามารถในการปรับตัวสู่ความยั่งยืน และยกระดับสู่การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันที่ยั่งยืนระดับโลกหลังวิกฤติสถานการณ์ COVID – 19 นายอนุชา มีเกียรติชัยกุล - 2564
โครงการพัฒนาพื้นที่ทุนทางวัฒนธรรม เพื่อสร้างเครือข่ายช่างทอให้เกิดเป็นชุมชนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดมหาสารคาม นายทม เกตุวงศา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2564
การพัฒนาต้นแบบเมืองแห่งการเรียนรู้ (Learning City) ผ่านระบบกลไกความร่วมมือ เชิงพื้นที่เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น กรณีศึกษา เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ รองศาสตราจารย์ กตัญญู แก้วหานาม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 2564
การยกระดับการเรียนรู้ของประชาชน เพื่อสร้างเศรษฐกิจท้องถิ่นผ่านพื้นที่การเรียนรู้ด้วยกลไกความร่วมมือระดับเมือง ภายใต้ฐานทรัพยากรชีวภาพและอัตลักษณ์วัฒนธรรม ยกระดับเมืองปากพูน ตำบลปากพูน อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นเมืองแห่งการเรียนรู้ (Learning City) ผศ.ดร. ดำรงศ์พันธ์ ใจห้าววีระพงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช 2564
การสร้างกลไกและเครือข่ายการยกระดับระบบนิเวศเมืองแห่งการเรียนรู้ (Learning city) เพื่อพัฒนาเมืองต้นแบบแห่งการเรียนรู้ด้วยนวัตกรรมดิจิทัล อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี นาย ชินวุธ พิพัฒน์ภานุกูล มหาวิทยาลัยบูรพา 2564
การพัฒนาแพลตฟอร์มต้นแบบกฎบัตรเมืองอัจฉริยะเพื่อยกระดับขีดความสามารถทางเศรษฐกิจและสังคม สู่นครสวรรค์เมืองแห่งการเรียนรู้ นายฐาปนา บุณยประวิตร - 2564
การวิจัยเชิงบูรณาการเพื่อขับเคลื่อนสถาบันการเรียนรู้ของคนทุกวัยในบทบาทกลไกสนับสนุนความเป็นเมืองแห่งการเรียนรู้จังหวัดระยองโดยความร่วมมือขององค์การบริหารส่วนจังหวัดระยองและภาคีเครือข่าย ระยะที่ 2 นางประภาภัทร นิยม สถาบันอาศรมศิลป์ 2564
การพัฒนาเมืองเชียงใหม่นครแห่งการเรียนรู้ เพื่อการพัฒนาเมืองพลวัตที่ยั่งยืน ดร. สุดารัตน์ อุทธารัตน์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2564 1
ยะลาเมืองแห่งการเรียนรู้: กระบวนการสร้างสรรค์เมืองแบบมีส่วนร่วมบนความหลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรม นายอภินันท์ ธรรมเสนา ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) 2564 4