มหาวิทยาลัยพะเยาขับเคลื่อนทุนทางวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่และยกระดับเศรษฐกิจฐานวัฒนธรรมของชุมชนระเบียงกว๊านพะเยา

cover

สถิติการเปิดชม ครั้ง
สถิติการดาวน์โหลด 14 ครั้ง

ดาวน์โหลดเอกสารฉบับเต็ม


เลขที่สัญญา A13F640092
นักวิจัย นางจารุวรรณ โปษยานนท์
หน่วยงาน มหาวิทยาลัยพะเยา
ทุนวิจัย
ปีงบประมาณ 2564
แผนงานหลัก มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาพื้นที่
แพลตฟอร์ม Platform 4 การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ
โปรแกรม P13 นวัตกรรมสำหรับเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนนวัตกรรม
Flagship
วันที่เริ่มต้น 15 พฤษภาคม 2021
วันที่สิ้นสุด 14 พฤศจิกายน 2022
ระยะเวลา 1 ปี 6 เดือน
สถานที่ทำวิจัย พะเยา

ชื่อโครงการ

มหาวิทยาลัยพะเยาขับเคลื่อนทุนทางวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่และยกระดับเศรษฐกิจฐานวัฒนธรรมของชุมชนระเบียงกว๊านพะเยา

คำสำคัญ

มหาวิทยาลัยพะเยา,ทุนทางวัฒนธรรม,การพัฒนาเชิงพื้นที่,เศรษฐกิจฐานวัฒนธรรม,ระเบียงกว๊านพะเยา

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ การวิจัยมหาวิทยาลัยพะเยาขับเคลื่อนทุนทางวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่และยกระดับเศรษฐกิจฐานวัฒนธรรมของชุมชนระเบียงกว๊านพะเยา มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา คือ 1) เพื่อสร้างระบบและกลไก ระหว่างมหาวิทยาลัยร่วมกับชุมชนในการบริหารจัดการทุนทางวัฒนธรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและรายได้ของชุมชนรอบกว๊านพะเยา 2) พัฒนาผู้ประกอบการและวิสาหกิจชุมชนรอบกว๊านพะเยาเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานวัฒนธรรม เป็นการวิจัยและพัฒนา (research and development) ใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม จากภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ เอกชน และชุมมชน ผลการศึกษาพบว่า ระบบและกลไกในการขับเคลื่อนการบริหารจัดการทุนทางวัฒนธรรรม จะต้องมีภาคีเครือข่ายที่ทำหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานอย่างมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ตามกรอบแนวคิด มหา-ประชา-รัฐ และมีบันทึกข้อตกลง (Memorandum of Understanding : MOU) เป็นกลไกสำคัญในการกำหนดแนวทางการดำเนินงานในการบริหารจัดการในทุนทางวัฒนธรรมเพื่อเป็นอนุรักษ์ ฟื้นฟู สืบสานมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนระเบียงกว๊านให้ดำรงคุณค่าไว้อย่างยั่งยืน สำหรับการสร้างมูลค่าจากทุนทางวัฒนธรรมโดยการมีส่วนร่วมจากเครือข่ายผู้ประกอบการทางวัฒนธรรมเดิมและรุ่นใหม่ ดำเนินการวิเคราะห์ และสังเคราะห์องค์ประกอบ ปัจจัย เงื่อนไข ที่ทำให้เกิดรูปแบบกิจกรรมทางวัฒนธรรม ผลิตภัณฑ์หรือการบริการทางวัฒนธรรม และเพื่อเป็นการพัฒนาเชิงพื้นที่ทางวัฒนธรรม โดยมีระบบและกลไกความร่วมมือจากภาคเครือข่าย การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างภาคีเครือข่าย การให้องค์ความรู้กับชุมชนโดยกระบวนการการจัดการความรู้ Design Thinking และการนำแผนที่ทางวัฒนธรรม มาเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนกระบวนการทำงาน ขั้นตอน และวิธีการบริหารจัดการทุนทางวัฒนธรรม และแนวทางในการพัฒนารูปแบบวิสาหกิจวัฒนธรรม และการยกระดับเศรษฐกิจบนฐานวัฒนธรรมของชุมชนระเบียงกว๊านพะเยาให้เกิดความยั่งยืน คำสำคัญ ทุนทางวัฒนธรรม การพัฒนาเชิงพื้นที่ เศรษฐกิจฐานวัฒนธรรม ชุมชนระเบียงกว๊านพะเยา

Title

University of Phayao with Driving cultural capital for Area based development and Cultural Economic improvement of cultural corridor of Kwan Phayao Community.

Keywords

University of Phayao,Area based development,Cultural Economic,Cultural corridor of Kwan Phayao

Abstract

Abstract University of Phayao with Driving Cultural Capital for Area-based development and Cultural Economic Improvement of Cultural Corridor of Kwan Phayao Community. The objectives of the study are 1) to create a system and mechanism between the university and the community in managing cultural capital to raise the quality of life and income of the community around Kwan Phayao. 2) Develop entrepreneurs and community enterprises around Kwan Phayao to drive the culture-based economy. It is research and development using a participatory action research process. From network partners in both the public, private and community sectors, the results of the study found that Systems and mechanisms found that Systems and mechanisms for driving the management of cultural capital. There must be network partners who are responsible for promoting and supporting the participatory operations of the network partners. According to the concept Maha- pracharat-state and there is a Memorandum of Understanding (MOU) which is an important mechanism in determining operational guidelines for the management of cultural capital in order to conserve, restore, and continue the cultural heritage of the Rabiang Kwan community to maintain its value sustainably. For creating value from cultural capital through the participation of networks of existing and new cultural entrepreneurs. Carry out analysis and synthesize the elements, factors, and conditions that create cultural activity patterns. Cultural products or services and for the development of cultural space There is a system and mechanism for cooperation from the network sector. Exchange of knowledge between network partners Providing knowledge to the community through the knowledge management process, Design Thinking, and using cultural maps. Become a tool to drive work processes, procedures, and methods for managing cultural capital. and guidelines for developing cultural enterprise models and upgrading the economy based on the culture of the Kwan Phayao terrace community to ensure sustainability Keywords: cultural capital , Area-based development, culture based economy, Corridor of Kwan Phayao Community

สำหรับสมาชิกเท่านั้น