กลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่

cover

สถิติการเปิดชม ครั้ง
สถิติการดาวน์โหลด 117 ครั้ง

ดาวน์โหลดเอกสารฉบับเต็ม


เลขที่สัญญา A15F630084
นักวิจัย นางเกียรติสุดา ศรีสุข
หน่วยงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทุนวิจัย โครงการ Flagship ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
ปีงบประมาณ 2563
แผนงานหลัก พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา
แพลตฟอร์ม Platform 4 การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ
โปรแกรม P15 เมืองน่าอยู่และการกระจายศูนย์กลางความเจริญ
Flagship FS 22: Education Sandbox (พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา)
วันที่เริ่มต้น 7 กันยายน 2020
วันที่สิ้นสุด 6 กันยายน 2021
ระยะเวลา 1 ปี
สถานที่ทำวิจัย เชียงใหม่

ชื่อโครงการ

กลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่

คำสำคัญ

กลไกขับเคลื่อน,สมรรถนะครู,พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเชียงใหม่

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องกลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่เป็นการวิจัยปฏิบัติการ (Action Research) ในลักษณะของ การเสริมพลัง (Empowerment) ให้กับโรงเรียนที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการจานวน 15 โรงเรียน
โดยชุดโครงการหลักได้ทำหน้าที่ในการวิเคราะห์สถานการณ์และจัดทาฐานข้อมูลเชิงระบบ เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครู วิเคราะห์กลไก บทบาทของกลไก กระบวนการขับเคลื่อนและ ถอดบทเรียนจาก 3 ชุดโครงการย่อย
โดยคณะผู้วิจัยได้ออกแบบวิธีการดาเนินการวิจัยที่สัมพันธ์ระหว่างชุดโครงการหลักและชุดโครงการย่อย และแบ่งออกการวิจัยออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้
ระยะที่ 1 การศึกษาสถานการณ์ และฐานข้อมูลเชิงระบบในการเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่

ระยะที่ 2 การวิจัยปฏิบัติการพัฒนาและเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา แบ่งการดาเนินงานเป็น 4 กิจกรรม คือ
กิจกรรมที่ 1 การปรับชุดความคิด (Mindset) และกาหนดเป้าหมาย (Goals)
กิจกรรมที่ 2 การวิจัยปฏิบัติการในโรงเรียนเป้าหมายจานวน 15 โรงเรียน
กิจกรรมที่ 3 การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย
กิจกรรมที่ 4 การเรียนรู้และการแลกเปลี่ยนในโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา

ระยะที่ 3 การนำเสนอกลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ การนำเสนอกลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วย
กิจกรรมที่ 1 การยกร่างกลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ กิจกรรมที่ 2 การนาเสนอกลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ผลการวิจัยสรุปว่า สรุปผลการวิจัย 1. ผลการศึกษาสถานการณ์และฐานข้อมูลเชิงระบบในการเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
1.1 รายงานสภาวะการศึกษาของจังหวัดเชียงใหม่ เป็นการนาเสนอข้อมูล สถิติ และประเด็นสาคัญที่เชื่อมโยงต่อการบริหารจัดการศึกษาของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ สรุปได้ดังนี้
1) ข้อมูลจานวนประชากร และประชากรวัยเรียนจังหวัดเชียงใหม่ มีประชากร มิใช่สัญชาติไทย (ร้อยละ 7.60) ของประชากรทั้งหมด มีนักเรียนจานวนมากในจังหวัดเชียงใหม่ที่ยังไม่มีบัตรประชาชนคนไทย (รหัส G) สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 จานวนมากที่สุด (ร้อยละ 47.54 ของนักเรียนทั้งหมด) ข้อมูลการเข้าเรียน เปรียบเทียบจานวนประชากรวัยเรียนอายุระหว่าง 1 15 ปี และประชากรผู้เรียนภาคบังคับ พบว่า ข้อมูลอัตราการเข้าเรียนของนักเรียน นักศึกษา จานวนที่เข้าเรียนจริงในเขตพื้นที่บริการต่ากว่าจานวนประชากรวัยเรียนอายุ 1 15 ปี และประชากรผู้เรียนภาคบังคับในทุกสังกัด จานวนประชากรในภาพรวมมีจานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ประชากรในทะเบียนบ้านกลาง และประชากรอยู่ระหว่างการย้ายในแต่ละปี ที่เพิ่มขึ้น
2) โอกาสการศึกษาต่อของประชากรวัยเรียนของจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า อัตราการเรียนต่อระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเพิ่มขึ้น (จากร้อยละ 96.00 เป็นร้อยละ 99.30) อัตราการเรียนต่อระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในภาพรวมเพิ่มขึ้น (จากร้อยละ 62.70 เป็นร้อยละ 65.20) เป็นการเพิ่มขึ้นของการเรียนต่อในสายสามัญ (จากร้อยละ 62.40 เป็นร้อยละ 64.90) อัตราการเรียนต่อใน สายอาชีวศึกษาค่อนข้างน้อย มีจานวนนักศึกษาระดับอุดมศึกษาลดลงในทุกปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งจานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี และส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาเพศหญิงมากกว่านักศึกษาเพศชาย
3) นักเรียนด้อยโอกาสทางการศึกษาและเด็กที่มีโอกาสหลุดจากระบบของการศึกษา พบว่า ข้อมูลรวมจานวนเด็กด้อยโอกาส ส่วนใหญ่แสดงเป็นเด็กด้อยโอกาสประเภทเด็กยากจน (ร้อยละ 99.09) ข้อมูลจานวนนักเรียนออกกลางคัน ของจังหวัดเชียงใหม่ มีจานวนน้อยมาก ไม่สะท้อนข้อเท็จจริงที่พบเห็นเด็กจานวนมากที่เร่ร่อน และเป็นกลุ่มเสี่ยงที่ปรากฎอยู่ทุกแห่งหนในจังหวัดเชียงใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงการแพร่ระบาดของ Covid-19 มีเด็กจานวนมากที่หลุดจากการศึกษาในระบบ 1.2 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน สมรรถนะครู สมรรถนะของนักศึกษาครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ สรุปได้ดังนี้ 2563)
กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย ผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประเด็นที่ศึกษา ได้แก่
1) สภาวะการศึกษาของจังหวัดเชียงใหม่
2) สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน สมรรถนะครู สมรรถนะของนักศึกษาครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
3) สภาพปัญหาและข้อเสนอแนะใน การขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ตามภารกิจที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562
4) ระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่
4.1) แบบวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของสมรรถนะผู้เรียน สมรรถนะครู และสมรรถนะนักศึกษาครู
4.2) แบบบันทึกข้อมูลการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทาฐานข้อมูล สภาพ ปัญหาและแนวทางการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ การเก็บรวบรวมข้อมูล จาก 1) การสารวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากทุกภาคส่วน 2) การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลจากแหล่งปฐมภูมิและแหล่งทุติยภูมิ
4.3) การประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทาฐานข้อมูล สภาพ ปัญหา และแนวทางการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา และ ข้อมูลเชิงสถิติ ใช้ค่าความถี่ ร้อยละ และการจัดเรียงลาดับ ระยะที่ 2 การวิจัยปฏิบัติการพัฒนาและเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา การวิจัยปฏิบัติการพัฒนาและเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเป็น การลงพื้นที่ภาคสนามของชุดโครงการหลักและชุดโครงการย่อย ในกลุ่มโรงเรียนเป้าหมาย 15 โรงเรียน
โดยมีกิจกรรมที่
2.1 กิจกรรมที่
2.3 กิจกรรมที่
2.4 ดำเนินการร่วมกัน
ส่วนในกิจกรรมที่ 2.2 ชุดโครงการย่อยที่ 1 3 จะลงพื้นที่ร่วมกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาและชุดโครงการหลักจะหนุนเสริม ร่วมแก้ไขปัญหาและถอดบทเรียนในการดาเนินการเป็นระยะ (ทุกชุดโครงการ ดาเนินการในระหว่างเดือนตุลาคม 2563 ถึงมีนาคม 2564) แบ่งออกเป็น 4 กิจกรรม ดังนี้
กิจกรรมที่ 2.1 การปรับชุดความคิด (Mindset) และกาหนดเป้าหมาย (Goals) การปรับชุดความคิด (Mindset) และกาหนดเป้าหมาย (Goals) เป็นการระดมพลังสมองของภาคีร่วมพัฒนา เพื่อปรับชุดความคิดของ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้บริหาร ครู ผู้แทนคณะกรรมการสถานศึกษา และผู้แทนผู้ปกครอง จากโรงเรียนเป้าหมาย ประเด็นที่ศึกษา ได้แก่
1) สภาพ ปัญหา สาเหตุของปัญหา และความต้องการในการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ และระบบการวัดและประเมินผล
2) สภาพ ปัญหา สาเหตุของปัญหา และความต้องการในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้
3) สภาพ ปัญหา สาเหตุของปัญหา และความต้องการในการพัฒนาสมรรถนะที่จาเป็นสาหรับนักศึกษาครูที่สอดคล้องกับพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา
4) มุมมอง/ประเด็นใหม่ในการพัฒนาสมรรถนะครู/นักศึกษาครูที่รองรับพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย ได้แก่
4.1) ข้อมูลสถานการณ์การศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ (ผลการศึกษาระยะที่ 1)
4.2) ประเด็นการสนทนากลุ่ม (Focus Group)
4.3) แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างตามประเด็นที่ศึกษา การเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่
4.3.1) การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสะท้อนข้อมูลสถานการณ์การศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
4.3.2) การสนทนากลุ่ม (Focus Group)
4.3.3 การสัมภาษณ์เชิงลึกตามประเด็นที่ศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและฉันทามติจากการประชุม/สนทนากลุ่ม และข้อมูลเชิงสถิติ ใช้ค่าความถี่ ร้อยละ และการจัดเรียงลาดับ กิจกรรมที่ 2.2 การวิจัยปฏิบัติการในโรงเรียนเป้าหมาย การวิจัยปฏิบัติการในโรงเรียนเป้าหมาย จานวน 15 โรงเรียน โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อ การพัฒนา “สมรรถนะผู้เรียน” ผ่าน“การเสริมสร้างสมรรถนะครู” โดยการวิจัยปฏิบัติการ (Action Research) ในลักษณะของการเสริมพลัง (Empowerment) โรงเรียนที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้บริหาร ครู ผู้แทนคณะกรรมการสถานศึกษา และผู้แทนผู้ปกครอง จากโรงเรียนเป้าหมาย ประเด็นที่ศึกษา ได้แก่
1) การคิดค้นและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน
2) การทดลองใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่คิดค้นและพัฒนาขึ้น
3) การถอดบทเรียนการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครู

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่
1) แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างตามประเด็นที่ศึกษา
2) แบบบันทึกการถอดบทเรียนผลการเสริมสร้างสมรรถนะครู
การเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่
1) การวิจัยปฏิบัติการในโรงเรียนเป้าหมาย
2) การเสริมพลัง การโค้ชและเป็นพี่เลี้ยง และการสะท้อนคิด Reflection)
3) การสัมภาษณ์เชิงลึกตามประเด็นที่ศึกษา
4) การถอดบทเรียนผลการเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและฉันทามติจากการประชุม/สนทนากลุ่ม และข้อมูลเชิงสถิติ ใช้ค่าความถี่ ร้อยละ และการจัดเรียงลาดับ

กิจกรรมที่ 2.3
การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย เป็นการนาเสนอผล การดาเนินงานของกลุ่มโรงเรียนเป้าหมายตามกระบวนการขับเคลื่อนในทุกระยะ ในหลากหลายรูปแบบ ได้แก่
1) การนาเสนอผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ได้แก่ Website, Page, Facebook Group, Line Group, Podcast เพื่อกระตุ้น แลกเปลี่ยน เรียนรู้ รวมถึงการเผยแพร่สู่สาธารณชน
2) การเยี่ยมเยียน (Site Visit) เพื่อเสริมพลังโดยภาคีร่วมพัฒนา คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม ผู้แทนจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
3) การจัดเวทีแลกเปลี่ยนระหว่างโรงเรียนเป้าหมาย ทั้ง 15 แห่ง เพื่อสะท้อนผลการดาเนินงาน ภาพความสาเร็จ ปัญหาและอุปสรรค เงื่อนไขความสาเร็จ ในการพัฒนาและเสริมสร้างสมรรถนะครูของแต่ละโรงเรียน (ดาเนินการในเดือนกันยายน 2564)

กิจกรรมที่ 2.4
การเรียนรู้และการแลกเปลี่ยนในโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา การเรียนรู้และการแลกเปลี่ยนในโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเป็นการนาเสนอ ผลการดาเนินงาน ภาพความสาเร็จ ปัญหาและอุปสรรค เงื่อนไขความสาเร็จ ของโรงเรียนเป้าหมายสู่เวทีสาธารณะเพื่อการขยายผลสู่สถานศึกษานาร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ และพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดอื่น เป็นการผลักดันแนวคิด กลไก กระบวนการสู่การแก้ไขปัญหา เชิงระบบของประเทศต่อไป

ระยะที่ 3
การนาเสนอกลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ การนาเสนอกลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วย
กิจกรรมที่ 3.1 การยกร่างกลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ การยกร่างกลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ เป็นการนารายงานสรุปผลการดาเนินการของชุดโครงการที่ 1 3 เพื่อนำข้อมูลมายกร่างกลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูโรงเรียนเป้าหมาย คณะผู้วิจัยจากชุดโครงการที่ 1 3 ประเด็นที่ศึกษา ได้แก่
1) องค์ประกอบของกลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครู
2) กระบวนการขับเคลื่อนระบบ การบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครู
3) ข้อเสนอต่อการขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครู
4) เงื่อนไขความสาเร็จของกลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครู
5) ความท้าทายใหม่ต่อการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่
1) สรุปผลการวิจัยจากชุดโครงการย่อยที่ 1 3
2) แบบสอบถามแนวทางการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครู ในโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ การเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อยกร่างกลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครู และการสอบถามแนวทางการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครู ในโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและฉันทามติจาก การประชุม/สนทนากลุ่ม และ ข้อมูลเชิงสถิติ ใช้ค่าความถี่ ร้อยละ และการจัดเรียงลาดับ

กิจกรรมที่ 3.2
การนาเสนอกลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ การนาเสนอกลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ เป็นการคืนข้อมูลจากการดาเนินการวิจัยทุกส่วนสู่เวทีสาธารณะ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้แทนจากหน่วยงานทางการศึกษา ประเด็นที่ศึกษา ได้แก่
1) ความถูกต้องและความเหมาะสมของกลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา
2) ข้อเสนอแนะต่อการพัฒนาและขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครู
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่
1) (ร่าง) กลไกขับเคลื่อนระบบ การบริหารเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา
2) ประเด็นการวิพากษ์และข้อเสนอแนะต่อการพัฒนาและขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครู การเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อนาเสนอกลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครู การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและฉันทามติจากการประชุมกลุ่ม และนาประเด็นสาคัญไปปรับแก้ไข เพิ่มเติมข้อมูล ในกลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ และจัดเผยแพร่สู่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อันจะนาไปสู่การขยายผลการพัฒนาสมรรถนะครู การปรับเปลี่ยนเชิงระบบในระดับนโยบาย และการกาหนดโจทย์ปัญหาร่วมเพื่อขับเคลื่อนในจังหวะก้าวต่อไป สรุปผลการวิจัย ตอนที่ 1 ผลการศึกษาสถานการณ์และฐานข้อมูลเชิงระบบในการเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ตอนที่ 1.1 รายงานสภาวะการศึกษาของจังหวัดเชียงใหม่ เป็นการนาเสนอข้อมูล สถิติ และประเด็นสาคัญที่เชื่อมโยงต่อการบริหารจัดการศึกษาของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
สรุปได้ดังนี้
1) ข้อมูลจานวนประชากร และประชากรวัยเรียนจังหวัดเชียงใหม่ มีประชากร มิใช่สัญชาติไทย (ร้อยละ 7.60) ของประชากรทั้งหมด มีนักเรียนจานวนมากในจังหวัดเชียงใหม่ที่ยังไม่มีบัตรประชาชนคนไทย (รหัส G) สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 จานวนมากที่สุด (ร้อยละ 47.54 ของนักเรียนทั้งหมด) ข้อมูลการเข้าเรียน เปรียบเทียบจานวนประชากรวัยเรียนอายุระหว่าง 1 15 ปี และประชากรผู้เรียนภาคบังคับ พบว่า ข้อมูลอัตราการเข้าเรียนของนักเรียน นักศึกษา จานวนที่เข้าเรียนจริงในเขตพื้นที่บริการต่ากว่าจานวนประชากรวัยเรียนอายุ 1 15 ปี และประชากรผู้เรียนภาคบังคับในทุกสังกัด จานวนประชากรในภาพรวมมีจานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ประชากรในทะเบียนบ้านกลาง และประชากรอยู่ระหว่างการย้ายในแต่ละปี ที่เพิ่มขึ้น
2) โอกาสการศึกษาต่อของประชากรวัยเรียนของจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า อัตราการเรียนต่อระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเพิ่มขึ้น (จากร้อยละ 96.00 เป็นร้อยละ 99.30) อัตราการเรียนต่อระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในภาพรวมเพิ่มขึ้น (จากร้อยละ 62.70 เป็นร้อยละ 65.20) เป็นการเพิ่มขึ้นของการเรียนต่อในสายสามัญ (จากร้อยละ 62.40 เป็นร้อยละ 64.90) อัตราการเรียนต่อใน สายอาชีวศึกษาค่อนข้างน้อย มีจานวนนักศึกษาระดับอุดมศึกษาลดลงในทุกปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งจานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี และส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาเพศหญิงมากกว่านักศึกษาเพศชาย
3) นักเรียนด้อยโอกาสทางการศึกษาและเด็กที่มีโอกาสหลุดจากระบบของการศึกษา พบว่า ข้อมูลรวมจานวนเด็กด้อยโอกาส ส่วนใหญ่แสดงเป็นเด็กด้อยโอกาสประเภทเด็กยากจน (ร้อยละ 99.09) ข้อมูลจานวนนักเรียนออกกลางคัน ของจังหวัดเชียงใหม่ มีจานวนน้อยมาก ไม่สะท้อนข้อเท็จจริงที่พบเห็นเด็กจานวนมากที่เร่ร่อน และเป็นกลุ่มเสี่ยงที่ปรากฎอยู่ทุกแห่งหนในจังหวัดเชียงใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงการแพร่ระบาดของ Covid-19 มีเด็กจานวนมากที่หลุดจากการศึกษาในระบบ

ตอนที่ 1.2 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน สมรรถนะครู สมรรถนะของนักศึกษาครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
สรุปได้ดังนี้
1.2.1 สมรรรถนะสาคัญของผู้เรียนในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วย การคิดเชิงระบบขั้นสูง คุณลักษณะเฉพาะตามอัตลักษณ์เชิงพื้นที่ และการสื่อสารในสังคมพหุวัฒนธรรม
1.2.2 สมรรรถนะสาคัญของครูในการออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย
1) การวิเคราะห์บริบท อัตลักษณ์และสมรรถนะเชิงอนาคตของผู้เรียน
2) การออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเป้าหมายการพัฒนา
3) กระบวนการนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ไปใช้อิงตามบริบทของชุมชน
4) การประเมินสมรรถนะที่เกิดจาก การใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้

1.2.3 สมรรรถนะสาคัญของครูในการออกแบบระบบการวัดและประเมินผล ประกอบด้วย
1) ชุดความคิดใหม่ในการวัดและประเมินผลที่สอดคล้องกับสมรรถนะของผู้เรียนในพื้นที่นวัตกรรม
2) การออกแบบกระบวนการวัดและประเมินสมรรถนะผู้เรียนในพื้นที่นวัตกรรม
3) กระบวนการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาความก้าวหน้าของผู้เรียนในพื้นที่นวัตกรรม
4) การสรุปรายงานผลการประเมินและการนาผลการประเมินไปใช้ประโยชน์

1.2.4 สมรรรถนะสาคัญของครูในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วย
1) การใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือการสอนในชั้นเรียนเพื่อการนาเสนอหรือการสร้างประสบการณ์การเรียนรู้
2) การใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนการเรียนการสอนทางไกล
3) การใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนการวัดและประเมินผลการเรียน
4) การใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนการปฏิบัติงานอื่น ๆ

1.2.5 สมรรรถนะสาคัญของนักศึกษาครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วย
1) การพัฒนาชุดความคิดเติบโต (Growth Mindset)
2) ความเข้าใจบริบทและการจัดการศึกษาของพื้นที่
3) การพัฒนาหลักสูตรที่เน้นผลลัพธ์ของผู้เรียน
4) การนาตนเองสู่ ผู้นาการเปลี่ยนแปลง
5) ด้านบูรณาการเทคโนโลยีเพื่อสร้างนวัตกรรม
6) ด้านการคิดเชิงระบบและแก้ปัญหาที่ซับซ้อน
7) ด้านการสร้างเครือข่ายและประสานความร่วมมือ

ตอนที่ 1.3 สภาพปัญหาและข้อเสนอแนะในการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดชียงใหม่ ตามภารกิจที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 นาเสนอใน 6 ด้านได้แก่
1) ด้านการบริหารจัดการ
2) ด้านหลักสูตร
3) ด้านการจัดการเรียนรู้ จัดหาและพัฒนาสื่อ
4) ด้านการวัดและประเมินผล
5) ด้านการประกันคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก
6) ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา

ตอนที่ 1.4 ระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วย
ระดับนโยบาย (คณะกรรมการนโยบาย)
ระดับพื้นที่นวัตกรรม (คณะกรรมการขับเคลื่อน) หน่วยงานต้นสังกัด สถานศึกษานาร่อง สถาบันผลิตครู และภาคีร่วมพัฒนา
ตอนที่ 2 ผลการวิจัยปฏิบัติการพัฒนาและเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาสรุปได้ดังนี้
ตอนที่ 2.1 ผลการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้และระบบการวัดและประเมินผล ในโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ สรุปได้ดังนี้
2.1.1 ผลการศึกษาสภาพและปัญหาการใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้และระบบ การวัดและประเมินผลในโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วย
1) นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่ใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ การออกแบบกรอบวิธีคิดทางหลักสูตร นวัตกรรมหลักสูตร นวัตกรรมการสอน นวัตกรรมการบริหารวิชาการเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน
2) สภาพการวัดและการประเมินผลในโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการจัดการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า โรงเรียนในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาทั้งหมด ใช้ระบบการวัดและการประเมินในโรงเรียนตามที่กาหนดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก และครูผู้สอนยังมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนในเป้าหมายของการวัดและการประเมิน
2.1.2 ผลการออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้และระบบการวัดและประเมินผลในโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ นวัตกรรมการส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้และระบบการวัดและประเมินผลในโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ ของมหาวิทยาลัยพี่เลี้ยง มีองค์ประกอบ ได้แก่
1) หลักการของนวัตกรรมการส่งเสริม ของมหาวิทยาลัยพี่เลี้ยง
2) วัตถุประสงค์ของนวัตกรรมการส่งเสริมของมหาวิทยาลัยพี่เลี้ยง
3) กระบวนการของนวัตกรรมการส่งเสริมของมหาวิทยาลัยพี่เลี้ยง มีขั้นตอนหลักอยู่ 6 ขั้นตอน คือ
ขั้นที่ 1 ถอดบทเรียนอย่างกัลยาณมิตร
ขั้นที่ 2 ร่วมคิด ร่วมทา
ขั้นที่ 3 หนุนนาไปใช้
ขั้นที่ 4 ใส่ใจติดตาม
ขั้นที่ 5 มองความสาเร็จ
ขั้นที่ 6 เผยกลเม็ดสู่สาธารณชน

4) บทบาทของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

5) การวัดและประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของนวัตกรรม

6) เงื่อนไขความสาเร็จที่จาเป็นต้องอาศัยการสร้าง “ระบบนิเวศวิทยาแห่งส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรม”

2.1.3 ผลการนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้และระบบการวัดและประเมินผลไปใช้ในโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ สรุปได้ว่า ครูมีสมรรถนะการออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้สูงขึ้นในทุกด้าน คือ
1) ด้านการวิเคราะห์บริบท อัตลักษณ์ และสมรรถนะเชิงอนาคตของผู้เรียน
2) ด้านการออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้/สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเป้าหมายการพัฒนาผู้เรียน
3) ด้านกระบวนการนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ไปใช้อิงตามบริบทของชุมชน
4) ด้านการประเมินสมรรถนะที่เกิดจากใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้

2.1.4 ผลการถอดบทเรียนการพัฒนาสมรรถนะครูและสมรรถนะของผู้เรียนด้วยนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้และระบบการวัดและประเมินผลในโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ สรุปได้ว่า ปัจจัยและกลไกสาคัญของการขับเคลื่อนการพัฒนา ประกอบด้วย
1) การมีส่วนร่วมของบุคลากรอย่างเป็นระบบ
2) ความพร้อมของภาคีเครือข่ายในการหนุนเสริม
3) ความแตกต่างของบริบทกับการออกแบบ
4) ความสอดคล้องของทิศทางการดาเนินการ

ตอนที่ 2.2 ผลการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ สรุปได้ดังนี้
2.2.1 ผลการศึกษาสภาพ ปัญหา สาเหตุของปัญหา และความต้องการในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ สรุปได้ว่า
โรงเรียนเป้าหมาย ยังไม่มีการพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานในสถานศึกษา ที่สอดคล้องกับบริบทเชิงพื้นที่อย่างเหมาะสม ระบบการบารุงรักษาโครงสร้างพื้นฐานให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง โรงเรียนเป้าหมายส่วนใหญ่ยังไม่มีอุปกรณ์ทางเทคโนโลยีสนับสนุนการปฏิบัติงานการจัดการศึกษาที่เหมาะสมและเพียงพอ ทุกโรงเรียนยังไม่มีการวางแผนในรูปของโครงการหรือแผนปฏิบัติงานในด้านเทคโนโลยีเพื่อการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทเชิงพื้นที่
2.2.2 ผลการพัฒนารูปแบบ/วิธีการ การใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้ ที่เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ สรุปได้ว่า กระบวนการในการพัฒนาที่จะต้องมีการกาหนดทีมพัฒนาสมรรถนะครู จากคณาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญในสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งจะต้องมีความเหมาะสมกับต้นทุนเดิมกับสมรรถนะครู และมีความเข้าใจพื้นฐาน ของครูเป็นอย่างดี มีการกาหนดเวลาในการพัฒนา ทั้งการ Empowerment การติดตามผล การนาไปใช้ และการเปิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยกระบวนการในการพัฒนาได้ใช้กระบวนการ PLC ทั้งในรูปของทีมพัฒนาด้วยกัน ในรูปของทีมพัฒนากับโรงเรียน และในรูปของโรงเรียนกับโรงเรียน
2.2.3 ผลการนารูปแบบ/วิธีการ การใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ สรุปว่า ครูมีการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือ การสอนในชั้นเรียนเพื่อการนาเสนอหรือสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ มีการใช้ในการสนับสนุน การเรียนการสอนทางไกล มีการใช้ในการสนับสนุนการวัดและประเมินผลการเรียน และใช้ใน การสนับสนุนการปฏิบัติงานอื่น ๆ เพิ่มขึ้น ครูมีสมรรถนะในการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือการสอนในชั้นเรียนเพื่อการนาเสนอหรือสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ สนับสนุนการเรียนการสอนทางไกล สนับสนุนการวัดและประเมินผลการเรียน สนับสนุนการปฏิบัติงานอื่น ๆ เพิ่มขึ้น และสมรรถนะของผู้เรียนที่เป็นนักเรียนของกลุ่มครูเป้าหมายมีสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้เพิ่มขึ้น
2.2.4 ผลการถอดบทเรียนการพัฒนาสมรรถนะครูและสมรรถนะของผู้เรียนด้วย การใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ สรุปว่า การใช้รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูในการบูรณาการการใช้เทคโนโลยี เพื่อการบริหารจัดการและจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับบริบทโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่นั้นหากจะให้การพัฒนาสมรรถนะครูได้ผลมากกว่านี้ อาจต้องมีการปรับกระบวนการของรูปแบบในเรื่องของกระบวนการในการออกแบบการเรียนรู้ว่า นอกจากการใช้วิธีการเรียนรู้ผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ หรือ PLC แล้ว ควรจะมีการใช้ชุดการสอนหรือคู่มือการใช้โปรแกรม ซึ่งอาจจะออกแบบในรูปแบบเอกสาร หรือรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ที่มีความเหมาะสมกับการใช้ในแต่ละระดับชั้น และอาจเลือกโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันที่มีความเหมาะสมสาหรับครูที่ยังเริ่มต้นการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้

ตอนที่ 2.3 ผลการพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะนักศึกษาครูเพื่อรองรับโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สรุปได้ดังนี้
2.3.1 ผลการวิเคราะห์สภาพปัญหา สาเหตุของปัญหา และความต้องการใน การพัฒนาสมรรถนะที่จาเป็นสาหรับนักศึกษาครูที่สอดคล้องกับพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สรุปได้ว่า นักศึกษาครูควรมีสมรรรถนะสาคัญ ได้แก่ การคิดเชิงระบบขั้นสูง คุณลักษณะเฉพาะตามอัตลักษณ์เชิงพื้นที่ และการสื่อสารในสังคมพหุวัฒนธรรม
2.3.2 ผลการพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะนักศึกษาครูเพื่อรองรับโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สรุปว่า รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะนักศึกษาครูเพื่อรองรับโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วยวัฏจักรการเรียนรู้ 4 ขั้น (AAAR model) คือ
การสร้างความตระหนัก (Awareness)
การกาหนดความคาดหวัง (Anticipation)
การปฏิบัติ (Action)
การสะท้อนคิด (Reflection) และแบ่งหน่วยการเรียนออกเป็น 4 หน่วย ได้แก่
1) อัตลักษณ์ล้านนา (Lanna Identity)
2) นักคิดเพื่ออนาคต (The Future Analysts)
3) วิถีชีวิตผาสุก (Well being way of life)
4) ผู้ประกอบการวิถีเขียว (Green Entrepreneur)

2.3.3 ผลการใช้รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะนักศึกษาครูเพื่อรองรับโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สรุปว่า การทดลองใช้วัฏจักรการเรียนรู้สาหรับนักศึกษาครูชั้นปีที่ 4 ผลการรับรู้ของนักศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมาก และมีความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบอยู่ในระดับมาก
2.3.4 ผลการถอดบทเรียนการพัฒนาสมรรถนะนักศึกษาครูเพื่อรองรับโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สรุปว่า กลไกขับเคลื่อนที่สนับสนุนรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะนักศึกษาครู เพื่อรองรับโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วย 3 ประเด็นหลักคือ
1) พลังนโยบาย
2) พลังเครือข่าย
3) พลังวิชาการ มีข้อเสนอแนะต่อสถาบันการผลิตครู คือ
3.1) การปรับหลักสูตรการผลิตนักศึกษาครูให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในเชิงนโยบาย
3.2) การวัดและประเมินผลต้องร่วมกันออกแบบระหว่างผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders)
3.3) ระบบการบรรจุและพัฒนาครูเชิงพื้นที่

ตอนที่ 3
ผลการนาเสนอกลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ สรุปได้ดังนี้ ผลการนาเสนอกลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ต่อผู้ทรงคุณวุฒิและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ฉันทามติจากการประชุมและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม นามาปรับแก้ไข เพิ่มเติมประเด็นสาคัญ และสรุปเป็นกลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ องค์ประกอบและกระบวนที่สาคัญ 5 ส่วน ดังนี้
องค์ประกอบที่ 1 องค์ประกอบของกลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครู ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วย 3 กลไกสาคัญได้แก่
1) การเพิ่มความเป็นอิสระให้สถานศึกษา
2) ความตระหนักรับผิดชอบต่อผลลัพธ์ของผู้เรีย
3) ภาคีร่วมหนุนเสริม เติมเต็มและพัฒนา
องค์ประกอบที่ 2 กระบวนการขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครู ประกอบด้วย 3 กลไกสาคัญ ได้แก่
1) การเพิ่มความเป็นอิสระให้สถานศึกษา
2) ความตระหนักรับผิดชอบต่อผลลัพธ์ของผู้เรียน
3) ภาคีร่วมหนุนเสริม เติมเต็มและพัฒนา
องค์ประกอบที่ 3 ข้อเสนอต่อการขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครู คณะกรรมการขับเคลื่อนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการกาหนดทิศทาง เป้าหมายและผลลัพธ์ในการขับเคลื่อนให้ชัดเจน และกาหนดบทบาท อานาจ หน้าที่ ของคณะกรรมการ หน่วยงาน และภาคีที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย
1) ระดับนโยบาย
2) ระดับพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา
3) หน่วยงานต้นสังกัด
4) สถานศึกษานาร่อง
5) สถาบันผลิตครู
6) ภาคีร่วมพัฒนาและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
องค์ประกอบที่ 4 เงื่อนไขความสาเร็จของกลไกขับเคลื่อนระบบการบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครู แบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ
1)ระดับสถานศึกษา
2) ระดับพื้นที่นวัตกรรม
องค์ประกอบที่ 5 ความท้าทายใหม่ต่อการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ เป็นผลลัพธ์เชิงบวกในระดับคณะ ระดับมหาวิทยาลัย ระดับพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา และได้พบความท้าทายใหม่เป็นประเด็นหรือโจทย์สาคัญที่มีความจาเป็นในการพัฒนาต่อไป โดยเป็นข้อค้นพบที่ได้จากการวิจัยในครั้งนี้ และเป็นความคาดหวังของภาคีเครือข่ายในการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้
1) ระดับนโยบาย
1.1 คณะกรรมการระดับนโยบายหรือผู้บริหารระดับนโยบาย ควรยึดหลักการ แนวทางการดาเนินงานที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตนกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 โดยให้อิสระแก่คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาในการดาเนินการตามบริบทของแต่ละพื้นที่ เพื่อความคล่องตัวในการบริหารจัดการที่เน้นผลลัพธ์ของผู้เรียนเป็นสาคัญ
1.2 คณะกรรมการระดับนโยบาย ควรสร้างการรับรู้และความเข้าใจให้กับหน่วยงานต้นสังกัดทั้งในระดับกระทรวง ระดับเขตพื้นที่การศึกษา รวมถึงพัฒนากลไกความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัด/หน่วยงานที่กากับดูแล สถาบันอุดมศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อหนุนเสริมการยกระดับคุณภาพการศึกษา
1.3 เร่งรัดการประกาศใช้หลักเกณฑ์และวิธีการรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษานาร่องให้มีความชัดเจน นาไปสู่การปฏิบัติได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การกาหนดผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษากลาง เพื่อที่สถานศึกษานาร่องจะนาไปกาหนดสมรรถนะของผู้เรียน จัดทาเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ และเสริมสร้างสมรรถนะครูในการออกแบบนวัตกรรม การจัดเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสมรรถนะของผู้เรียน
1.4 ส่งเสริม สนับสนุน ความก้าวหน้าในวิชาชีพครูให้กับครูในสถานศึกษา นาร่อง โดยปรับหลักเกณฑ์การเลื่อนเงินเดือน เลื่อนวิทยฐานะ และสวัสดิการอื่นให้เหมาะสมกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ
2) ระดับพื้นที่นวัตกรรม
2.1 คณะกรรมการขับเคลื่อนควรมีการกาหนดเป้าหมายร่วมและทิศทาง การดาเนินงาน จัดเรียงลาดับความสาคัญของสภาพปัญหา เป้าหมาย ตัวชี้วัดความสาเร็จและผู้รับผิดชอบหลัก ในแต่ละระยะให้ชัดเจน
2.2 เร่งรัดจัดทาระบบฐานข้อมูล (Big data) ของการบริหารบุคคลให้มี ความชัดเจน เป็นรูปธรรมและพร้อมใช้งาน การเรียงลาดับความสาคัญของสภาพปัญหา การบริหารงานบุคคลของพื้นที่โดยแท้จริง นาเสนอการปรับแก้ไข ในประเด็นที่สามารถทาได้ทันที และนาเสนอปรับกฎหมาย/กฎระเบียบต่อคณะกรรมการนโยบายที่เอื้อต่อการบริหารบุคคลโดยแท้จริง
2.3 ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กากับดูแล สถาบันอุดมศึกษาเพื่อหนุนเสริม เติมเต็ม ติดตามและตรวจสอบ การขับเคลื่อนและยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียนอย่างเต็มศักยภาพ
2.4 เปิดพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับครูในสถานศึกษานาร่อง ร่วมแก้ปัญหา ให้ข้อเสนอแนะ รวมถึงส่งเสริม สนับสนุน ความก้าวหน้าในวิชาชีพครูให้กับ ครูในสถานศึกษานาร่อง
3) หน่วยงานต้นสังกัด
3.1 สร้างการรับรู้และความเข้าใจให้กับบุคลากรในทุกกลุ่มงานเกี่ยวกับ ความเข้าใจในพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา
3.2 พัฒนาครูให้สมรรถนะในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก การบูรณาการ ข้ามศาสตร์ การบูรณาการเทคโนโลยี และอื่น ๆ รวมถึงให้ความช่วยเหลือ แนะนา เป็นพี่เลี้ยงใน การขับเคลื่อนและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียนอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง
3.3 จัดสรรงบประมาณ ทรัพยากรอื่นที่เหมาะสม การขับเคลื่อนและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียน รวมถึง หนุนเสริม เติมเต็ม ร่วมแก้ปัญหา ให้ข้อเสนอแนะ ติดตามการดาเนินงานของสถานศึกษานาร่องอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง
3.4 ส่งเสริม สนับสนุน ความก้าวหน้าในวิชาชีพครูให้กับครูในสถานศึกษา นาร่อง
4) สถานศึกษานาร่อง
4.1 สร้างการรับรู้ ความเข้าใจที่ชัดเจน และการปรับชุดความคิด (Mindset) เกี่ยวกับพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาให้กับคณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองและชุมชน เพื่อร่วมกันกาหนดวิสัยทัศน์ มาตรฐานการศึกษาและผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียน ที่สอดคล้องกับบริบทเชิงพื้นที่และความต้องการของสังคมและชุมชนอย่างแท้จริง ย
4.2 ส่งเสริมการพัฒนาครูนักจัดกระบวนการ ให้มีความเชี่ยวชาญในการจัดประสบการณ์ให้กับผู้เรียนโดยเน้นการฝึกปฏิบัติ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับหลักสูตร ฐานสมรรถนะ การวัดผลประเมินผล ศึกษาดูงานสถานนาร่องที่มีความก้าวหน้าเพื่อนามาปรับใช้กับโรงเรียน
4.3 จัดสรรงบประมาณในการส่งเสริมและพัฒนาสมรรถนะของครู ทั้งการเรียนรู้ด้วยตนเอง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูในโรงเรียนและหน่วยงานภายนอก
4.4 ประสานความร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษา ภาคีเครือข่ายใน การหนุนเสริม เติมเต็ม การพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียน
5) สถาบันผลิตครู
5.1 ควรสร้างการรับรู้และความเข้าใจในพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรม พ.ศ. 2562 ให้กับบุคลากรทุกคน เพื่อกาหนดเป้าหมายและทิศทางการเข้าไปมีส่วนร่วมหนุนเสริมทางวิชาการให้กับสถานศึกษานาร่องอย่างต่อเนื่อง
5.2 ควรออกแบบหลักสูตรในการพัฒนาสมรรถนะครูที่สอดคล้องกับแนวคิด การจัดการศึกษาเชิงพื้นที่ การจัดการเรียนรู้เชิงรุก การบูรณาการข้ามศาสตร์ การบูรณาการอัตลักษณ์เชิงพื้นที่ ปรากฏการณ์ทางสังคม และภาพอนาคต รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้และออกแบบการจัดการเรียนการสอนที่เน้นการคิดขั้นสูงที่ครูสามารถนาไปปรับประยุกต์ใช้ในการจัด การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับบริบทของผู้เรียนและสถานศึกษา
5.3 ควรออกแบบหลักสูตรและกิจกรรมการพัฒนานักศึกษาครู เพื่อให้นักศึกษาครูมีสมรรถนะในการบูรณาการข้ามศาสตร์ การบูรณาการอัตลักษณ์เชิงพื้นที่ ปรากฏการณ์ทางสังคม และภาพอนาคต รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้และออกแบบการจัด การเรียนการสอนที่เน้นการคิดขั้นสูงและมีความเหมาะสมกับแนวคิดการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่
5.4 ควรเข้าไปมีส่วนร่วมในคณะอนุกรรมการของคณะกรรมการขับเคลื่อนเพื่อรับทราบสภาพปัญหา แสวงหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน รวมทั้งเปิดพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างหน่วยงานหนุนเสริมทางวิชาการร่วมกัน
5.5 หนุนเสริม เติมเต็ม ร่วมแก้ปัญหา ให้ข้อเสนอแนะ การขับเคลื่อนและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียนอย่างสม่าเสมอ
6) ภาคีร่วมพัฒนาและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ควรศึกษาและทาความเข้าใจในพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรม พ.ศ. 2562 เพื่อกาหนดเป้าหมายและทิศทางการเข้ามามีส่วนร่วมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป
1. ควรมีการศึกษาวิจัยเรื่อง รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะเชิงพื้นที่ของผู้บริหารสถานศึกษา ครู และนักศึกษาครูในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
2. ควรมีการศึกษาวิจัยเรื่อง กลไกความร่วมมือของภาคีเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะ เชิงพื้นที่ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
3. ควรมีการศึกษาวิจัยเรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาสมรรถนะ เชิงพื้นที่แบบองค์รวมในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
4. ควรมีการศึกษาวิจัยเรื่อง แนวทางในการวัดและประเมินผลที่สอดคล้องกับหลักสูตรฐานสมรรถนะของสถานศึกษานาร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่

Title

An Enabler of the Management System to Enhance Teachers Competency in Chiang Mai Education Sandbox

Keywords

enabler,teachers’ competency,Chiang Mai education sandbox

Abstract

The research on “Mechanism for Driving Management System to Enhance Teacher Competency in Chiang Mai Education Sandbox” is action research in the form of empowerment with 15 schools that voluntarily participated in the project. The main project was to analyze the situation and create a systematic database to enhance teacher competency, analyze mechanisms, roles of mechanisms, process-driven, and capture lessons from three sub-projects.

These included
1) Research and Development of Learning Management Innovation and Measurement and Evaluation Systems in Chiang Mai Education Sandbox;
2) Research and Development of Technology Usage Model for Learning Management in Chiang Mai Education Sandbox and 3) Research and Development of Pre-Service Teachers Competency Model for Supporting Schools in Education Sandbox. In addition, the sub-project will bring “The Concept of Community-Based Learning Management” to participate in research and development. It includes being a mentor for participating schools taking into account the condition of the communitys context as essential through the process of reinforcing empowerment for the school to develop continuously, coaching and mentoring regularly, capturing the lessons by reflection during the sub-projects the development and enhancement of teacher competency and the development of student competency in the target schools were carried out. The main project series will capture the lessons learned and return important information to co-development partners, stakeholders, and the public periodically, including creating a professional learning community: PLC between target schools through the process of learning & share. The results from every stage of the operation have been brought to the presentation of “Mechanism for Driving Management System to Enhance Teacher Competency in Chiang Mai Education Sandbox.” The research team designed a methodology related to the main project set and sub-projects.
The research was divided into three phases as follows:

The 1st Phase:
Situational studies and a systematic database for enhancing teacher competency in Chiang Mai Education Sandbox; it mobilizes all development partners.
The subjects consisted of representatives from relevant agencies. The issues studied were
1) educational condition of Chiang Mai;
2) key competency of students, teacher competency, and pre-service teacher competency in Chiang Mai Education Sandbox; 3) conditions of problems and recommendations for driving Chiang Mai Education Sandbox according to the missions set out in the Education Sandbox Act B.E. 2562 (2019)
4) a management system for enhancing teacher competency in Chiang Mai Education Sandbox. The research instruments employed
4.1) a form for analyzing and synthesizing data on current and desirable conditions of student competency, teacher competency, and pre-service teacher competency;
4.2) a data record form for a workshop to prepare a database of conditions, problems, and management guidelines to enhance teacher competency in Chiang Mai Education Sandbox.
Data collection was gathered from
1) a survey of relevant data from all sectors;
2) an analysis and synthesis of data from primary and secondary sources;
3) a workshop on creating a database of conditions, problems, and management guidelines for enhancing teacher competency in Chiang Mai Education Sandbox. Data analysis and statistics included content analysis for qualitative data and frequency, percentage, and sorting data for statistical data.

The 2nd Phase:
Action research on the development and enhancement of teacher competency in the education sandbox; this is a field trip of the main project and sub-projects among the 15 target schools collaboratively to achieve the development goals. Moreover, a series of main projects will support, participate in solving problems, and capture the lessons in action periodically (operated from October 2020 to March 2021), divided into four activities as follows:
Activity 2.1: Shifting mindset and setting goals is the brainstorming of co-development partners for leveling up the mindset. The subjects were administrators, teachers, representatives of the school committees, and parents representatives from the target schools.
The research instruments included
1) data on the educational situation in Chiang Mai (results from the 1st Phase 1)
2) focus group topics.
3) semi-structured Interview forms based on the topics studied.

Data collection consisted of
1) a workshop to reflect information on the educational situation in Chiang Mai.
2) a focus group.
3) an in-depth interview on the topics studied. Data analysis and statistics used applied content analysis and consensus from the meeting/group discussion for qualitative data and frequency, percentage, and sorting data for statistical data.

Activity 2.2: Action research in 15 target schools with the main goal of developing “Student competency” through “teacher competency enhancement” by action research as empowerment to volunteer schools participating in the project. The subjects employed administrators, teachers, representatives of the school committees, and parents representatives from the target schools.
The research instruments comprised.
1) a semi-structured interview form based on the studied issues.
2) a record form of lesson transcription of teacher competency enhancement results.

The data collection consisted of
1) action research in target schools.
2) empowerment, coaching and mentoring, and reflection.
3) in-depth interviews on the topics studied.
4) lessons learned from the results of teacher competency enhancement in Chiang Mai Education Sandbox.

The data analysis and statistics used applied content analysis and consensus from the meeting/group discussion for qualitative data and frequency, percentage, and sorting data for statistical data.
Activity 2.3: Building a professional learning community in target schools is a presentation of the target school operational results according to the process-driven in every phase in a variety of formats, namely
1) presentations via social media such as Website, Page, Facebook Group, Line Group, Podcast to stimulate, exchange, learn, including disseminating to the public.
2) Site visit is for empowerment by development partners, education sandbox driven committee, representatives from relevant sectors.
3) organizing exchange forums between the 15 target schools to reflect the operational results of success pictures, problems, and obstacles, success conditions for developing and enhancing teacher competency in each school (Operated in September 2021).

Activity 2.4: Learning and exchanging among schools in the education sandbox is to present the results of operation, success picture, problems, obstacles, and success conditions of the target schools to the public forum for expanding the results to pilot schools in Chiang Mai Education Sandbox and education sandbox in other provinces. This is to push forward ideas, mechanisms, and processes toward solving the countrys systemic problems.

The 3rd Phase:
Presentation of the mechanism for driving the management system to enhance teacher competency in Chiang Mai Education Sandbox Presenting the mechanism for driving management system in enhancing teacher competency in Chiang Mai Education Sandbox comprised of Activity 3
1) Drafting mechanism for driving management system to enhance teacher competency in Chiang Mai Education Sandbox is a report summarizing the results of the 1 3 project series to bring information to draft a mechanism driving the management system to enhance teacher competency in Chiang Mai Education Sandbox. The subjects were administrators, teachers in the target schools, and the research team from the 1-3 project series.
The research instruments consisted of
1) the summaries of the 1-3 project series findings;
2) a questionnaire on management guidelines to enhance teacher competency among the schools in Chiang Mai Education Sandbox. The data collection was a workshop on drafting a mechanism driving the management system to enhance teacher competency and asking for management guidelines to enhance teacher competency among the schools in Chiang Mai Education Sandbox. The data analysis and statistics used applied content analysis and consensus from the meeting/group discussion for qualitative data and frequency, percentage, and sorting data for statistical data.

Activity 3.2
Presentation of the mechanism for driving the management system to enhance teacher competency in Chiang Mai Education Sandbox is to return information from all research operations to the public forum. The subjects were qualified experts and representatives from educational agencies.
The research instruments included
1) (draft) a mechanism driving the management system to enhance teacher competency in the education sandbox;
2) issues of criticism and recommendations for developing and driving the management system to enhance teacher competency.
The data collection was carried out through a workshop for presenting the mechanisms driving the management system to enhance teacher competency.
The data analysis and statistics utilized applied content analysis and consensus from the meeting/group discussion for qualitative data and improved essential issues in the mechanism to drive the management system to enhance teacher competency in Chiang Mai education sandbox. Moreover, the dissemination was organized to relevant agencies, which will lead to expanding teacher competency development, implementing systematic adjustments at the policy level, and defining common problems to drive the next step.

Conclusion Section
1: Results of a situational study and a systematic database for enhancing teacher competency in Chiang Mai Education Sandbox Section
1.1: Report on the educational conditions in Chiang Mai. It is a presentation of information, statistics, and essential issues that are linked to the educational management of Chiang Mai Education Sandbox.
It can be summarized as follows:
1) Population data and school-age population in Chiang Mai had a population of non-Thai nationality (7.60%) of the total population.There were many non- Thai ID card students (code G) in Chiang Mai under the Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 3 (47.54% of all students). Admission information compared to the school age’s population between 1-15 years and the population of compulsory learners showed that the student attendance rate data, the number of students enrolled in the service area was lower than the number of 1-15 years school-age population and the population of compulsory students in all affiliations.The population as a whole had an increasing population. Moreover, the population in the central household register and the population on the move are increasing each year;
2) Opportunities for further education among the school-age population of Chiang Mai indicated an increase in the enrollment rate for secondary school (from 96.00% to 99.30%), an increase in the overall high school enrollment rate ( from 62.70% to 65.20%), an increase in general education (from 62.40 to 64.90%). However, the rate of further education in vocational education was relatively low. There was a decrease in the number of tertiary students every year, especially the number of undergraduate students, and most of them were female students than male students;
3) Educationally disadvantaged students and children with a chance to drop out of the educational system found that the most of disadvantaged children were underprivileged children in the category of poor children (99.09 %). The number of dropout students in Chiang Mai was very few, and it did not reflect the fact that many children were homeless and were as risky groups appearing everywhere in Chiang Mai. Significantly, during the Covid-19 pandemic, many children dropped out of formal education.

Section
1.2: Students’ key competency, teacher competency, and pre-service teacher competency in Chiang Mai Education Sandbox can be concluded as follows:
1.2.1 The key competency of the students in Chiang Mai Education Sandbox consisted of advanced systems thinking, characteristics based on spatial identity, and communication in a multicultural society.
1.2.2 The key competencies of teachers in designing learning management innovation consisted of 1) an analysis of context; identity, and future competency of students;
2) design of learning management innovation of media and technology that is suitable for development goals;
3) the process of implementing learning management innovation based on the community’s context.
4) evaluation of the competency arising from applying learning management innovation.

1.2.3 The key competencies of teachers in the design of measurement and evaluation systems included
1) a new set of measurement and evaluation concepts that was consistent with student competency in the education sandbox; 2) designing a process for measuring and evaluating the students’ competency in the education sandbox;
3) the measurement and evaluation process to develop students progress in the education sandbox, and 4) the conclusion of the evaluation report and the utilization of the evaluation results.

1.2.4 The key competencies of teachers in utilizing technology for learning management were
1) usage of technology as a classroom teaching tool for presentations or creating learning experiences;
2) usage of technology as a tool to support learning;
3) usage of technology as a tool for supporting learning measurement and evaluation, and 4) usage of technology as a tool for supporting other operations.

1.2.5 The key competencies of pre-service teachers in Chiang Mai Educational Sandbox involved
1) developing a growth mindset.
2) understanding the context and learning management of the area.
3) developing a curriculum with the emphasis on student outcomes.
4) leading oneself as a transformational leader.
5) integrating technology to create innovation.
6) thinking about systems and solving complex problems.
7) building networks and collaborating.

Section 1.3:
Problems and recommendations for driving Chiang Mai Education Sandbox under the missions set out in the Education Sandbox Act B.E. 2562 (2019), presented in six aspects:
1) management;
2) curriculum;
3) learning management, media procurement, and development;
4) measurement and evaluation;
5) internal quality assurance and external quality assurance.
6) teachers and educational personnel.

Section 1.4:
A management system for enhancing teacher competency in Chiang Mai Education Sandbox included policy level (policy committee), education sandbox level (driven Committee), affiliated agency, pilot schools, teacher production institutes as well as development partners
Section 2: Action research on the development and enhancement of teacher competency in the education sandbox can be summarized as follows:
Section 2.1:
Results of the learning management innovation and measurement and evaluation systems development among schools in Chiang Mai Education Sandbox can be summarized as follows:
2.1.1 The results of the study on conditions and problems of using learning management innovation and measurement and evaluation systems among schools in Chiang Mai Education Sandbox can be concluded as follows:
1) current learning management innovations such as the design of curriculum conceptual framework, course innovations, teaching innovations, academic management innovations to support students learning.
2)Measurement and evaluation conditions among schools in Chiang Mai Education Sandbox found that the schools in all education sandbox utilized the schools system of measurement and evaluation as stipulated in the Basic Education Core Curriculum. Teachers had misunderstandings in the goals of measurement and evaluation.
2.1.2 The results of the design on learning management innovation and measurement and evaluation systems among schools in Chiang Mai Education Sandbox, innovations promoting the learning management innovations and measurement and evaluation systems development among schools in Chiang Mai Education Sandbox of the mentoring universities consisted of the following components:
1) principles of promoting innovation of mentor universities;
2) objectives of innovation promoting mentoring universities;
3) the process of promoting innovation of mentoring universities with six steps as
Step 1: Capturing lesson learned with friendliness,
Step 2: Thinking and doing collaboratively, Step
3: Supporting for application,
Step 4: Following up,
Step 5: Looking at success,
Step 6: Disclosing to the public,
4) Teacher competency development curriculum.
5) Roles of the stakeholders.
6) Measurement and evaluation of the innovations’ efficiency and effectiveness.
7) Needed success conditions to build “Ecosystem of innovation development enhancing.”

2.1.3 The implementation of learning management innovation and measurement and evaluation systems in the schools in Chiang Mai Education Sandbox can be summed up that the teachers had high competencies in designing learning management innovation in all aspects as
1) an analysis of context; identity, and future competency of students.
2) design of learning management innovation of media and technology that is suitable for development goals.
3) the process of implementing learning management innovation based on the communitys context.
4) evaluation of the competency arising from applying learning management innovation.

2.1.4 The results of lessons learned on teacher competency development and student competency through learning management innovation and measurement and evaluation systems among schools in Chiang Mai Education Sandbox can be concluded that the key factors and mechanisms for driving development consisted of
1) the participation of the personnel in a systematic way.
2) the readiness of the network partners to support.
3) the differences in the context of the design.
4) the consistency of the direction of action.

Part 2.2: The results of the development of technology for learning management among schools in Chiang Mai Education Sandbox can be summarized as follows:
2.2.1 The results of the study on the conditions, the problems, and the causes of the problems, including the needs to utilize technology for learning management among schools in Chiang Mai Education Sandbox can be showed that the target schools software has not yet been developed to support school operations that are appropriately aligned with the spatial context, infrastructure maintenance system for continuous operation. Moreover, most of the target schools did not have suitable and adequate technological equipment to enhance the implementation of educational management practices. In addition, not every school had a plan in the form of a project or action plan in technology for the educational administration of the school in accordance with the spatial context.
2.2.2 The development results of the model/method, the technology usage for learning management that was appropriate for the Chiang Mai Education Sandbox can be concluded that the development process requiring the development of teacher competency teams from faculty members with expertise in higher education institutions. The development must be appropriate to the original cost and teacher competency, and have an excellent fundamental understanding of the teacher. There was a timeline for development, including empowerment, follow-up for implementation, and opening a platform for exchanging knowledge. The development process utilized the PLC process in the form of a development team collaboratively with both schools and schools and schools.
2.2.3 The implementation results of the technology usage for learning management among schools in Chiang Mai Education Sandbox can be concluded that teachers had used technology as a tool in classroom teaching for presentations or creating learning experiences. It is used to support distance learning. It was used increasingly to support measuring and evaluating academic performance and other operations. The teachers have the increased capacity to use technology as a classroom teaching tool for presentations or to create learning experiences in support of distance learning, measurement and evaluation of academic performance, and other operations. Furthermore, the competence of the students of the target teacher group had increased competency in using technology for learning.
2.2.4 The results of capturing lessons learned of teacher competency development and student competency by using technology for learning management among schools in Chiang Mai Education Sandbox concluded that the usage of the teacher competency development model in integrating the use of technology for management and learning management is consistent with the school context of Chiang Mai Education Sandbox. However, if the teacher competency development is more effective, the modeling process may need to be adjusted in terms of the designed learning process. For example, in addition to applying a learning professional community or PLC, there should be a tutorial package or a program guide that may be designed in document format or electronic form that is suitable for each level. Moreover, teachers who are still beginning to use technology to manage learning may choose an appropriate program or application.

Part 2.3: The development results of a model for developing pre-service competency to support schools in the education sandbox can be summarized as follows:
2.3.1 The results of the analysis of the problem conditions, causes of the problems, and the needs to develop the competencies necessary for pre-service teachers in line with the education sandbox can sum up that the pre-service teachers must have the key competencies as advanced systems thinking, unique characteristics based on spatial identity, and communication in a multicultural society.
2.3.2 The model development results of the pre-service teachers competency for supporting schools in the education sandbox, it can be concluded that the model of pre-service teacher competency development supports schools in Chiang Mai Educational Sandbox. It consisted of a four-stage learning cycle (AAAR model): awareness, anticipation, action, and reflection. Moreover, the learning unit was divided into four units, namely 1) Lanna identity, 2) The Future analysts, 3) Well-being way of life, and 4) Green entrepreneur.
2.3.3 The results of applying the pre-service teacher competency model development for supporting schools in the education sandbox concluded that in the learning cycle experiment for 4th -year pre-service teachers, overall perceived outcomes were at a high level, and there was a high level of satisfaction with applying the model.
2.3.4 The results of capturing lessons learned from pre-service teacher competency development to support schools in the education sandbox summarized that the driving mechanism enhancing the pre-service teacher competency development to serve schools in Chiang Mai Education Sandbox consisted of three main issues:
1) policy power.
2) network power.
3) academic power There were recommendations to the Teacher Production Institutes as
3.1) adjustment of curriculum for student-teacher production to be aligned with policy changes
3.2) collaboration of design measurement and evaluation among stakeholders.
3.3) area-based teacher employment and development system.

Section 3:
The presentation results of the mechanism for driving management system to enhance teacher competency in Chiang Mai Education Sandbox can be brief as follows:
The presentation results of the mechanism towards the qualified experts, stakeholders in driving the education sandbox, the consensus from the meeting, and the additional recommendations were implemented for improving, adding the significant issues, and concluded as the mechanism. The five main elements and processes are as follows: The first element: elements of the management system driving mechanism for enhancing teacher competency in Chiang Mai Education Sandbox, there were three main mechanisms which were
1) increasing the independence of educational institutions.
2) awareness of responsibility for the students’ outcomes.
3) supporting, fulfilling and developing partners.

The second element: processes in driving the management system mechanism for enhancing teacher competency in Chiang Mai Education Sandbox had three main mechanisms:
1) increasing the independence of educational institutions.
2) awareness of responsibility for the students’ outcomes.
3) supporting, fulfilling and developing partners.

The third element: is the proposal to drive a management system to enhance teacher competency; the driven committee and relevant departments should have clear directions, goals, and outcomes of the drive and define the roles, powers, and duties of committees, agencies, and related parties, consisting of
1) policy level
2) education sandbox level
3) affiliate agencies
4) pilot schools
5) teacher production institutes
6) co-development partners and related sectors.

The fourth element:
The success conditions of the driving mechanism for the management system in enhancing teachers, can be classified into two levels institutional level and education sandbox level.
The fifth element:new challenges for driving Chiang Mai Education Sandbox was a positive result at the faculty level and university-level education sandbox level and found new challenges as significant issues or problems for further development.
They were the findings from this research and were the expectation of network partners to drive Chiang Mai Education Sandbox.
Recommendations Recommendations for Research Application
1) Policy Level
1.1 Policy-level committee or policy-level executive should adhere to the implementation principles for the Education Sandbox Act B.E. 2562 (2019) by providing independence to education sandbox-driven committees to operate following the context of each area. That will be flexible in management, focusing on the student outcomes.
1.2 Policy committee should create awareness and understanding for the affiliated agencies involved in both the ministry level and Education area level, as well as develop a mechanism for cooperation with the agency / regulatory agency, higher education institutions, and related agencies to support and enhance the quality of education.
1.3 The clarification of criteria and methods for standard accreditation of pilot schools should be expedited, leading to the actual practice, especially the core educational achievement determination. Therefore, the pilot schools can use it to determine student competency, create a competency-based course, and enhance teacher competency in designing learning management innovations to serve the student competency.
1.4 There should promote and support the advancement of the teaching profession among teachers in pilot schools by adjusting the criteria for salary deferrals, promoting academic standing, and other welfare to suit the nature of work performed.

2) Education Sandbox Level
2.1 The driven committee should determine the common goals and directions of action and prioritize problem conditions, goals, success indicators, and key responsibilities in each phase.
2.2 There should accelerate the personnel management of big data to be clear, concrete, and ready to use, prioritize the importance of problem conditions, personnel management in the actual area, propose the revision on issues that can be done immediately, and proposes to adjust the law/rules to the policy committee that genuinely facilitate the management of people.
2.3 There should be coordination with the affiliated agencies or regulatory agencies of higher education institutions to support, replenish, follow up and monitor the driving and upgrading of students educational achievement to their full potential.
2.4 There should be the opportunity to exchange learning for teachers in pilot schools to solve problems, give feedback, and promote and support the teaching profession advancement for teachers in pilot schools.

3) Affiliated Agencies
3.1Affiliated agencies should create awareness and understanding among personnel in all work groups regarding understanding the Education Sandbox Act.
3.2 Affiliated agencies should develop teachers with competency in proactive learning management, interdisciplinary integration, technology integration, etc., providing assistance, advice, and mentoring to drive and enhance students educational achievements on a regular and ongoing basis.
3.3 Affiliated agencies should allocate a budget and other resources suitably, driving and upgrading students educational achievements, including supporting, enhancing, replenishing, solving problems, providing suggestions, and following up on the operations of pilot schools regularly and continuously.
3.4 Affiliated agencies should promote and support the teaching profession advancement for teachers in pilot schools.

4) Pilot Schools
4.1 Pilot schools should create awareness, clear understandings, and mindset change on the Education Sandbox Act to the teachers, board of institution committee, parents, and communities. All stakeholders should co-define visions, educational standards, and students educational achievement, emphasizing spatial context and fundamental social and community needs.
4.2 Pilot schools should promote the teachers’ development and process organizers to be proficient in organizing experiences for students with an emphasis on practical practice and organize training workshops on the competency-based course evaluation. Moreover, the teachers should have opportunities to visit progressing pilot schools to adapt to their schools.
4.3 Pilot schools should allocate budgets to promote and develop teacher competency in self-learning and knowledge exchange between school teachers and external agencies.
4.4 Pilot schools should collaborate with higher education institutions, network partners in supporting and replenishing the development of innovative management and learning management innovations to enhance students educational achievements.

5) Teacher Production Institutions
5.1 Teacher Production Institutions should create awareness and understanding of the Education Sandbox Act B.E. 2562 (2019) for all personnel to determine goals and directions for continually participating in academic support for pilot schools. 5.2 Teacher production institutions should design the curriculum for teacher competency development based on area-based education management, proactive learning management, interdisciplinary integration, spatial identity integration, social phenomena, and outlook, including the technology usage in learning management and design of instructional management emphasizing advanced thinking. With these, the teachers can apply learning management aligned with the students and schools context.
5.3 Teacher production institutions should design courses and activities for pre-service teacher development since they can integrate interdisciplinary, spatial identity, social phenomena, and outlook, including the technology usage in learning management and design of instructional management with advanced thinking. Moreover, these will have suitable for area-based education management concepts.
5.4 Teacher production institutions should participate in the subcommittee of the driven committee to acknowledge the problem, seek solutions, and provide an opportunity to exchange knowledge between agencies to support academics cooperatively.
5.5 Teacher production institutions should support, fulfill, jointly solve problems, provide suggestions, and regularly drive and upgrade students educational achievements.

6) Co-Development Partners and Related Sectors They should study and comprehend the Education Sandbox Act B.E. 2562 (2019) for setting goals and directions for participation in driving Chiang Mai education sandbox.
Recommendations for Future Research
1. There should be a research study on a model of area-based competency development of school administrators, teachers, and pre-service teachers in Chiang Mai education sandbox.
2. There should be a research study on partnership mechanisms to strengthen area-based competency in Chiang Mai education sandbox.
3. There should be a research study on policy proposals for holistic area-based competency development in Chiang Mai education sandbox.
4. There should be a research study on guidelines for measuring and evaluating results consistent with the competency-based curriculum of pilot schools in Chiang Mai education sandbox.

สำหรับสมาชิกเท่านั้น