ชื่อโครงการ
นวัตกรรมการพัฒนาระบบและกลไกการจัดการตนเองของชุมชนเพื่อรองรับสังคมสูงวัยโดยความร่วมมือขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาควิชาการและภาคีเครือข่ายจังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ และน่านคำสำคัญ
นวัตกรรมการพัฒนาระบบและกลไก,การจัดการตนเอง,สังคมสูงวัย,นวัตกรชุมชนบทคัดย่อ
โครงการนวัตกรรมการพัฒนาระบบและกลไกการจัดการตนเองของชุมชนเพื่อรองรับสังคมสูงวัย โดยความร่วมมือขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาควิชาการ และภาคีเครือข่ายจังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน มีวัตถุประสงค์
(1) นำใช้นวัตกรรมการพัฒนาระบบรองรับสังคมสูงวัย
(2)พัฒนาพื้นที่ต้นแบบชุมชนจัดการตนเองเพื่อ รองรับสังคมสูงวัย และ
(3)พัฒนาเครือข่ายนวัตกรรมและพันธกิจสัมพันธ์เพื่อรองรับสังคมสูงวัย
โดยความร่วมมือขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับภาควิชาการ และภาคีเครือข่าย ดำเนินการใน 13 พื้นที่ ในจังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ และน่าน ที่มีความพร้อมยกระดับเป็นพื้นที่ต้นแบบชุมชนจัดการตนเองเพื่อรองรับสังคมสูงวัยปฏิบัติการภายใต้โครงการย่อย 3 โครงการย่อยที่ครอบคลุมทั้ง 4 มิติของระบบรองรับสังคมสูงวัย และมิติของการบริหารจัดการ ซึ่งเป็นภารกิจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งได้แก่
โครงการย่อยที่ 1 พัฒนาระบบการส่งเสริมการอยู่ร่วมกันของคนสามวัยโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย
โครงการย่อยที่ 2 นวัตกรรมกระบวนการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุสู่การเพิ่มรายได้เพื่อรองรับสังคมสูงวัย
โครงการย่อยที่ 3 จัดการโรงเรียนผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วม โดยฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อรองรับสังคมสูงวัย และ
โครงการย่อยที่ 4 พัฒนาระบบบริหารเครือข่ายจัดการนวัตกรรมและพันธกิจสัมพันธ์เพื่อรองรับสังคมสูงวัย
โดยความร่วมมือขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กับภาควิชาการและภาคีเครือข่าย ผลการวิจัยได้ผลลัพธ์ที่สำคัญดังนี้ เกิดกลไกการขับเคลื่อนระบบรองรับสังคมสูงวัยที่เป็นต้นแบบ ระดับจังหวัด 1 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดอุตรดิตถ์ และระดับตำบล 3 ตำบล ได้แก่ ตำบลหนองม่วงไข่ จังหวัดแพร่ตำบลคอรุม จังหวัดอุตรดิตถ์ และตำบลกลางเวียง จังหวัดน่าน เกิดนวัตกรชาวบ้านจำนวน 72 คน ซึ่งนวัตกรได้รับการยกระดับ ผ่านหลักสูตรแกนนำขับเคลื่อนระบบรองรับสังคมสูงวัย และการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการร่วมกับโครงการย่อย เกิดพื้นที่ต้นแบบที่ชุมชนจัดการตนเองเพื่อรองรับสังคมสูงวัยในทุกมิติ ได้แก่ เทศบาลตำบลหนองม่วงไข่ ผลสำเร็จของชุดโครงการโดยมีเป้าหมายร่วมกัน การจัดการความรู้เป็นระยะ การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ และการติดตามเสริมพลังอย่างต่อเนื่องได้ชุดความรู้จากกระบวนการนวัตกรรมที่ปรับใช้แล้ว 4 ชุด กลไกการขับเคลื่อนเพื่อการพัฒนาที่ยังยืนหลังจบโครงการได้แก่
(1) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้แก่นวัตกรอย่างต่อเนื่อง และสร้างเครือข่ายนวัตกรข้ามพื้นที่
(2) หน่วยงานระดับจังหวัดควรเสริมหนุนนโยบายด้านการรองรับสังคมสูงวัยให้ครอบคลุมทุกมิติและทุกกลุ่มวัย
(3) หน่วยงานระดับพื้นที่ควรใช้โรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นพื้นที่ในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาระบบรองรับสังคมสูงวัย ในทุกมิติ
(4) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรเป็นกลไกเชื่อมเครือข่ายสร้างและใช้นวัตกรรมเพื่อรองรับสังคมสูงวัย
(5) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจัดการข้อมูลให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและใช้ประโยชน์ร่วมกันเพื่อกำหนดตัวชี้วัดระบบรองรับสังคมสูงวัยที่มีประสิทธิภาพ
(6) หน่วยงานทุกระดับตั้งแต่ระดับจังหวัด อำเภอ และตำบล ต้องเชื่อมกลไกการทำงานบูรณาการโดยการวางแผนและปฏิบัติการของทุกกลุ่มวัยร่วมกันเพื่อรองรับสังคมสูงวัย และ
(7) หน่วยงานระดับพื้นที่ต้องเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของทุกกลุ่มวัยในการออกแบบกิจกรรม โดยใช้วัยทำงานเป็นตัวเชื่อมโดยใช้ทุนทางสังคมและภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นฐานเพื่อนำไปสู่การเรียนรู้และ เพิ่มรายได้
การที่การผลักดันผลการวิจัยให้ถูกนำไปใช้โดยภาควิชาการต้องมีบทบาทในการสร้างเครือข่ายสร้าง และใช้นวัตกรรมที่เกิดขึ้นนากการวิจัยผ่านเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุระดับจังหวัด
Title
Innovation to system development and self-management mechanism of community for support aging society under cooperation of the local government organization, academic and provincial network : Uttaradit , Phare and NanKeywords
Innovation to system development and mechanism,self-management,aging society,community innovationAbstract
Innovation for system development and self-management mechanism of community for supporting the aging society under cooperation of local government organization, academic and partnership networks in Uttaradit , Phare and Nan aimed to
1) use the innovation to develop aging society systems
2) develop a model of self-management mechanism of community for supporting the aging society and
3) develop innovations and engagement management networks for supporting the aging society under cooperation of local government organizations, academic and partnership networks.
This research study was implemented in 13 areas that are ready to be developed for a model area for self-management mechanism of community for supporting the aging society. It operated under 4 subprojects consisting of 4 dimensions of the aging society and the dimension of management, which is the mission of the local government organization. The 4 subprojects consisted of the following:
1) Developing a system to promote the coexistence of people of three ages groups through the participation of network partners
2) Process innovation of the potential development of the elderly to increase the income for supporting the aging society 3)The participatory elderly school management by applying local wisdom to support the aging society and
4) The development of an administrative system of the innovation and engagement management network for supporting the aging society under cooperation from the local government organizations, academic and partnership networks.
The results revealed the mechanism for driving the elderly society at a provincial level model in Uttaradit, and the subdistrict level model in NongMuangKhai Subsdistrict, Phrae, Korum Subdistrict, Uttaradit, and Klangwiang Subdistrict, Nan. The 105 village innovators abilities had been developed through the leadership curriculum for the aging society, practical learning between the 4 subprojects. The model of self-management mechanism of community for supporting the aging society in all dimensions was NongMuangKhai Subsdistrict Municipality. The key successes of this study were the same goals of all the subprojects, continual knowledge management, effective communication and empowerment monitoring. Obtained knowledge from implement innovation processes from sub project. The mechanism for sustainable development after the end of the project were:
1) related sector should continuously improve the ability of learning management for the innovators and create the innovators across areas through knowledge sharing
2) provincial sector should support the aging policy in all dimensions and all ages.
3) local sectors should use the elderly school as the center of learning for the aging society.
4) local government organizations should be the connector of the network that creates and uses the innovations for supporting the aging society.
5) related sectors should manage all information and share the data to set the efficiency indicator for the aging society.
6) all sectors should integrate the working mechanism through the planning and operation of all ages to support the aging society and
7) local sectors should support the participation of all age groups to design the activity by using the working ages to connect all age group together and use social capital and local wisdom to be the base of the learning and increase income.
The research results will be used by the academic department to build networks, create and use innovations arising from research through the learning exchange forum of the provincial elderly quality of life development committee. The research results have to be applied by the academic sectors, which play a role to create networks, and use innovations from research results through the learning exchange platform of the pprovincial committee on the Quality of Life Development Center for the Elderly at the provincial level.