แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์เพื่ออนุรักษ์คุณค่าอัตลักษณ์และภูมิปัญญาด้านที่อยู่ อาศัยและมรดกวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อการท่องเที่ยวยั่งยืนและเชื่อมโยงเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออก : กรณีศึกษากลุ่มเครือข่ายท้องถิ่นย่านชุมชนเก่าเมืองจันทบุรี (จันท์ช่วยจันท์)

cover

สถิติการเปิดชม ครั้ง
สถิติการดาวน์โหลด 34 ครั้ง

ดาวน์โหลดเอกสารฉบับเต็ม


เลขที่สัญญา A13F630032
นักวิจัย นายปูรณ์ ขวัญสุวรรณ
หน่วยงาน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ทุนวิจัย งบประมาณด้าน ววน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (Re-Submit)
ปีงบประมาณ 2563
แผนงานหลัก มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่
แพลตฟอร์ม Platform 4 การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ
โปรแกรม P13 นวัตกรรมสำหรับเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนนวัตกรรม
Flagship FS 21: มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาพื้นที่
วันที่เริ่มต้น 15 พฤษภาคม 2020
วันที่สิ้นสุด 14 พฤษภาคม 2021
ระยะเวลา 3 ปี
สถานที่ทำวิจัย จันทบุรี

ชื่อโครงการ

แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์เพื่ออนุรักษ์คุณค่าอัตลักษณ์และภูมิปัญญาด้านที่อยู่ อาศัยและมรดกวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อการท่องเที่ยวยั่งยืนและเชื่อมโยงเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออก : กรณีศึกษากลุ่มเครือข่ายท้องถิ่นย่านชุมชนเก่าเมืองจันทบุรี (จันท์ช่วยจันท์)

คำสำคัญ

เศรษฐกิจสร้างสรรค์,อัตลักษณ์และภูมิปัญญาด้านที่อยู่อาศัยท้องถิ่น,ภาคตะวันออก,การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน,ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์,การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาวิเคราะห์ศักยภาพ อัตลักษณ์ และภูมิปัญญาด้านที่อยู่อาศัยและมรดกวัฒนธรรมท้องถิ่น ตลอดจนเศรษฐกิจสร้างสรรค์เบื้องต้นในพื้นที่ชุมชนหนองบัว จังหวัดจันทบุรี ในด้านต่าง ๆ ผ่านโครงการวิจัยย่อย 6 โครงการ ทั้งในด้าน

1) การศึกษาอัตลักษณ์ภูมิปัญญาด้านที่อยู่อาศัย
2) การศึกษาการจัดทาระบบฐานข้อมูล
3) การศึกษาด้านกลไกทางเศรษฐศาสตร์
4) การศึกษาด้านการกาหนดแนวทางควบคุมทางกายภาพ
5) การศึกษามาตรการทางผังเมือง
6) การศึกษาด้านการสร้างเสริมศักยภาพของบุคลากรและชุมชน

การศึกษาพบว่า ผลกระทบของการพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ว่ามีผลกระทบต่อพื้นที่การศึกษาและมีผลต่อการพัฒนาและการขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ กล่าวคือ

1) การเกิด Urbanization การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางสังคม เศรษฐกิจ ที่ใช้ผลจากการวิจัยต่อยอดสู่นโยบายและกลไกในการวางแผนทั้งในระดับชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2) การเปลี่ยนแปลงภายในพื้นที่ คนรุ่นใหม่ การสืบทอดทางวัฒนธรรม วิถีชีวิตที่เชื่อมโยงกับภูมินิเวศ ใช้โอกาสที่เป็นข้อค้นพบจากงานวิจัยสร้าง platform ในการเชื่อมพื้นที่แห่งโอกาสให้กับคนรุ่นใหม่
3) การปรับเปลี่ยนโครงสร้างของการบริหารจัดการส่วนท้องถิ่น ที่จะต้องกระฉับกระเฉงฉับไว smart และใช้ innovation ใหม่ ๆ ในการบริหารจัดการ
4) การเคลื่อนย้ายของแรงงาน ผู้คน ความต้องการด้านที่อยู่อาศัย พื้นที่เพื่อตอบสนองวิถีชีวิตแบบใหม่ การท่องเที่ยว การเดินทาง ทาให้พื้นที่ชุมชนเผชิญทั้งโอกาสและภัยคุกคาม การวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดินตามแนวทางของงานวิจัยที่เชื่อมโยงกับกลไกของการจัดทาผังเมืองและนโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้องจะเป็นพลังในการวางแผน
5) การกาหนดบทบาทใหม่ของชุมชนและภูมินิเวศ / ความเป็นเมืองเชิงนิเวศ Eco Urbanity / Urbanization of the Vernacular Settlements / Cultural Ecology in Transition โดยเฉพาะชุมชนหนองบัวที่จะมีบทบาทชุมชนอนุรักษ์เชิงนิเวศและนวัตกรรมสังคม

Title

An Approach of the Creative Economic Development for the Conservation of Local Residential Identity, Wisdom Value, and Cultural Heritage for Sustaining Tourism Integrated with the East Economic Corridor (EEC) Development: A Case Study of Traditional Communities Network of Chantaburi

Keywords

Creative Economic,Local Residential Identity and Wisdom,Eastern Region,Sustainable Tourism,Geographic Information System,East Economic Corridor Development

Abstract

The principal objectives of this study were to analyze on potential, identity, and wisdom in terms of housing and local cultural heritage; as well as the initial creative economy in the Nong Bua community, Chanthaburi Province through 6 sub-research projects in

1) local wisdom identity in dwellings
2) database
3) economic mechanism
4) physical character design guidelines
5) urban planning policy
6) community empowerment.

The study found that EEC has an impact on the research area and development of a creative economy which are;

1) Urbanization and socio-economic structural change where the research result can deliver community and local authority planning policy
2) Changes within the area, new generations, cultural inheritance way of life connected with the landscape Use the opportunities found in the research to create a platform to connect areas of opportunity for the new generation.
3) Change the structure of local administration. which must be agile, smart, and use innovations in management;
4) the movement of labor, people, and housing needs Space to meet the new way of life Tourism and travel make community areas face both opportunities and threats. Land use planning based on research approaches linked to urban planning and policy mechanisms. Relevant laws will be the power for planning. 5) Defining new roles of communities and ecosystems / eco-urbanity Eco Urbanity / Urbanization of the Vernacular Settlements / Cultural Ecology in Transition, especially Nong Bua community that will have a conservation community role. Ecology and Social Innovation.

สำหรับสมาชิกเท่านั้น