การยกระดับการเรียนรู้ของประชาชน เพื่อสร้างเศรษฐกิจท้องถิ่นผ่านพื้นที่การเรียนรู้ด้วยกลไกความร่วมมือระดับเมือง ภายใต้ฐานทรัพยากรชีวภาพและอัตลักษณ์วัฒนธรรม ยกระดับเมืองปากพูน ตำบลปากพูน อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นเมืองแห่งการเรียนรู้ (Learning City)

cover

สถิติการเปิดชม ครั้ง
สถิติการดาวน์โหลด 89 ครั้ง

ดาวน์โหลดเอกสารฉบับเต็ม


เลขที่สัญญา A15F640135
นักวิจัย ผศ.ดร. ดำรงศ์พันธ์ ใจห้าววีระพงศ์
หน่วยงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
ทุนวิจัย งบประมาณด้าน ววน. Full Proposal ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
ปีงบประมาณ 2564
แผนงานหลัก การพัฒนาเมืองและกลไกการเติบโตใหม่
แพลตฟอร์ม Platform 4 การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ
โปรแกรม P15 เมืองน่าอยู่และการกระจายศูนย์กลางความเจริญ
Flagship
วันที่เริ่มต้น 1 มิถุนายน 2021
วันที่สิ้นสุด 31 พฤษภาคม 2022
ระยะเวลา 1 ปี
สถานที่ทำวิจัย นครศรีธรรมราช

ชื่อโครงการ

การยกระดับการเรียนรู้ของประชาชน เพื่อสร้างเศรษฐกิจท้องถิ่นผ่านพื้นที่การเรียนรู้ด้วยกลไกความร่วมมือระดับเมือง ภายใต้ฐานทรัพยากรชีวภาพและอัตลักษณ์วัฒนธรรม ยกระดับเมืองปากพูน ตำบลปากพูน อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นเมืองแห่งการเรียนรู้ (Learning City)

คำสำคัญ

เมืองแห่งการเรียนรู้,อุโมงค์โกงกาง,วิถีปากพูน,พร้าวผูกเกลอ,เกลอปากพูน

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัย เรื่อง “การยกระดับการเรียนรู้ของประชาชน เพื่อสร้างเศรษฐกิจท้องถิ่น ผ่านพื้นที่การเรียนรู้ด้วยกลไกความร่วมมือระดับเมือง ภายใต้ฐานทรัพยากรชีวภาพและอัตลักษณแ วัฒนธรรม ยกระดับเมืองปากพูน ตําบลปากพูน อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นเมืองแห่ง การเรียนรู้ (Learning City)” มีวัตถุประสงคแ 3 ประการ 1) เพื่อพัฒนากลไกการขับเคลื่อนเมืองแห่ง การเรียนรู้สู่ความยั่งยืน (Learning City) ผ่านความร่วมมือของภาคีเครือข่ายความรู้และวิทยาการใน พื้นที่เทศบาลเมืองปากพูน ตําบลปากพูน จังหวัดนครศรีธรรมราช 2) เพื่อพัฒนากระบวนการศึกษา ท้องถิ่น (Local Study) นําไปสู่การสังเคราะหแเนื้อหาของท้องถิ่น (Local Literature) ส่งผลให้เกิด ความร่วมมือทางสังคม ความภูมิใจในท้องถิ่น และนําไปสู่การต่อยอดผลิตภัณฑแและการบริการใน พื้นที่เทศบาลเมืองปากพูน จังหวัดนครศรีธรรมราช และ 3) เพื่อพัฒนาพื้นที่การเรียนรู้ (Learning Space) และ พิพิธภัณฑแมีชีวิต (Living Museum) ยกระดับเศรษฐกิจท้องถิ่นและคุณภาพชีวิตของคน ในพื้นที่เทศบาลเมืองปากพูน จังหวัดนครศรีธรรมราช อย่างเป็นรูปธรรม การวิจัยครั้งนี้นี้เป็นงานวิจัย เชิงคุณภาพและปริมาณ (Mixed method research) กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสําคัญ ได้แก่ ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่เทศบาล กลุ่มคนในชุมชนเมืองปากพูน ผู้ประกอบการ ผู้ใช้บริการ นักวิชาการ ตัวแทน หน่วยงานเกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลโดยการศึกษา เอกสาร สํารวจข้อมูล สัมภาษณแเชิงลึก และสนทนา กลุ่ม โดยมีเครื่องมือวิจัยการวิจัยครอบคลุมกลุ่มเปูาหมาย ขั้นตอนการดําเนินงาน ประกอบด้วย การประชุมชี้แจงโครงการวิจัย วางแผนการดําเนินการวิจัย นําข้อมูลมาวิเคราะหแเชิงคุณภาพ ในรูปแบบการพรรณนา เผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะบนแนวคิดมุ่งเปูาเพื่อเพื่อสร้างความร่วมมือ ระหว่างสถาบันการศึกษากับภาคีหลักในพื้นที่ตามประเด็นกรอบของหน่วยบริหารและจัดการทุนวิจัย ด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) อว. กําหนด 1) การศึกษาท้องถิ่น 2) พื้นที่การเรียนรู้ 3) เมืองแห่ง การเรียนรู้ Leaning City และ 4) กลไกความร่วมมือระดับเมือง ยกระดับคุณภาพชีวิตของคน ในสังคมชุมชนสร้างความมั่นคงให้กับประเทศชาติ ผลการวิจัย พบว่า ความหลากหลายของทรัพยากรชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นพันธุแพืช ทั้งสิ้น 17 ชนิด 41 วงศแ 49 สกุล 51 สปีชีสแ ภูมิปัญญาการใช้ประโยชนแจากทรัพยากรท้องถิ่นมีความ หลากหลาย ทั้งนําประกอบอาหารทานสด แปรรูป สินค้าอัตลักษณแ ใช่ในการรักษาโรค นําไปสู่การ จัดทําพิพิธภัณฑแมีชีวิต ระบบการจัดการชุมชน พบว่า กลไกไอ้เฒ่าปากพูน เป็นกลไกความร่วมมือและ เครือข่ายการพัฒนาเมืองปากพูน และปรากฏการณแการเคลื่อนไหวของกลุ่มมาจากการมีความ ต้องการของชุมชนร่วมกัน ทําให้โครงสร้างของกลุ่มมีความเหนียวแน่น สร้างกฎกติการ่วมกัน นอกจากนี้ทุนประวัติศาสตร์ส่งผลให้ผู้คนในสร้างความรู้สึกร่วม สร้างความภูมิใจในท้องถิ่นในมิติ ต่าง ๆ ความสําเร็จของประชาชนหรือกลุ่มประกอบอาชีพในชุมชนปากพูน เกิดจากการมีผู้นําที่ดี มีแหล่งทุนในชุมชน การเอื้อประโยชนแซึ่งกัน การมีสมาชิกที่มีวินัย และปฏิบัติตามกฎของกลุ่ม การส่งเสริมการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง การส่งเสริมและร่วมมือกันหน่วยงานภายในและภายนอก ชุมชน ผ่านความเป็น พื้นที่แห่งการเรียนรู้ (Learning Space) “ตลาดความสุขชาวเล” แลกเปลี่ยน สินค้าและวัฒนธรรม ยกระดับเศรษฐกิจฐานราก และ คุณภาพชีวิตของชาวชุมชนเทศบาลเมือง ปากพูน อย่างมั่นคง ยั่งยืน

Title

Raising the Learning of the people level To Build a Local Economy through a Learning Space with a City cooperation Mechanism under the Biological Resource Base and Cultural Identity in Pak Phun Municipality, Pak Phun Sub-district, Muang District, Nakhon Si Thammarat to learning city.

Keywords

Learning City,Umong Kongkang,Pakpoon livelihood,Prao-phuk-khel,khel pakpoon

Abstract

Research studied in title of “Upgrading peoples learning to build a local economy through learning spaces with city-level cooperation process based on biological resources and cultural identity leaded to upgrade Pakpoon City, Pakpoon Sub-district, Mueang District, Nakhon Si Thammarat as a learning city. There consisted of 3 objectives: 1) to develop driving process to be learning city sustainably through the cooperation of partners and knowledge in Pakpoon Town Municipality area, Pakpoon Sub-district, Nakhon Si Thammarat Province 2) to develop the process of local education (Local Study) leading to the synthesis of local content (Local Literature) resulting in social cooperation, local pride and further local products and services Pakpoon Town Municipality area, Nakhon Si Thammarat and 3) to develop learning space and living Museum to upgrade local economy and quality of life of people in Pakpoon Town Municipality area, Nakhon Si Thammarat concretely. This research was a qualitative and quantitative research (Mixed method research). The informants were administrators, staffs, representative people in Pakpoon city, entrepreneurs, users, academicians, representative of related agencies. All information were gathered through collecting documents, surveying data, in-depth interviewing and group chatting by research tools covering the target group. The implementation process contained a meeting to clarify the research project, working plan, analyzing all data by qualitative analysis in descriptive form and disseminating information to the public in concept aimed cooperation between educational institutions and key partners in the area. There was followed frame work of Program Management Unit on Area Based Development (PMU A) that focused on 1) local education 2) learning area 3) learning City and 4) urban cooperation process to improve peoples quality of life in the city and to create nation stability. The results revealed diversity of bio-resources and local wisdoms, plants (17 species), animals (41 families, 49 genera and 51 species). Local wisdoms utilizing were divers that included cooking fresh food, processed products, product identity to treat disease and leaded to the creation of a living museum. The community management system found the Pakpoon collaboration mechanism was a mechanism for cooperation and development network of Pakpoon city which was the phenomenon of group movement from community’s need to create the cohesive group structure and rules together. In addition, historical capital resulted in people creating a sense of commonality, local pride in various dimensions. Success of people or professional groups in Pakpoon community were caused by having a good leader, sources of fund, community mutual benefit, having a disciplined member and respected the rules, encouraging genuine participation, promoting and collaborating with agencies inside and outside community through being a learning space “Chao Lay Happiness Market”. There were exchanged products and cultures, upgraded the basic economy and the quality of life of people of Pakpoon Municipality Community sustainably.

สำหรับสมาชิกเท่านั้น