ชื่อโครงการ
การบูรณาการแผนเมืองอัจฉริยะเพื่อส่งเสริมการพัฒนาสู่เมืองมหาวิทยาลัยอย่างยั่งยืนคำสำคัญ
รถโดยสารอัจฉริยะ,การเชื่อมต่อการเดินทาง,ชุมชนมหาวิทยาลัย,การพัฒนาเมือง,การเดินทางอัจฉริยะ,มหาวิทยาลัยอัจฉริยะ,ฐานข้อมูลดิจิทัลของชุมชน,กลุ่มผู้เปราะบาง,ความฉลาดในการใช้เครืองมือ,สังคมมีความเป็นธรรม,การวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน,การพัฒนาอย่างชาญฉลาด,แบบจำลองเมือง,การวิเคราะห์เมืองและข้อมูลเมือง,ผู้สูงอายุ,เทคโนโลยีสารสนเทศ,แพลตฟอร์มเพื่อการบริหารจัดการอุปกรณ์และข้อมูล,เซ็นเซอร์,โครงข่ายปราสาทเทียม,ปัญญาประดิษฐ์,การทำเหมืองข้อมูล,ฐานข้อมูลและระบบเฝ้าระวังต้นไม้ในเมือง; การจัดการสารสนเทศด้านรุกขกรรม; เมืองสีเขียวอัจฉริยะ,อาคารที่สามารถรองรับการใช้งานของผู้สูงอายุ,ประชาชนอัจฉริยะ,ห้องวิจัยที่มีชีวิต,เกมจำลองสถานการณ์,สังคมเมืองเพื่อคนทุกกลุ่ม,การจัดการขยะอย่างชาญฉลาด,ถังขยะอัจฉริยะ,การทำสวนในพื้นที่เมือง,ก๊าซเซนเซอร์,คุณภาพอากาศ,ฐานข้อมูลและระบบเฝ้าระวังต้นไม้ในเมือง,การจัดการสารสนเทศด้านรุกขกรรม,เมืองสีเขียวอัจฉริยะบทคัดย่อ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต และพื้นที่โดยรอบในรัศมี 10 กิโลเมตร จะถูกพัฒนาเป็นพื้นที่ต้นแบบของ การขยับสู่เมืองอัจฉริยะของประเทศไทย ด้วยการผ่านการพัฒนานวัตกรรมที่ครบทั้ง 7 เสาหลัก อันได้แก่ สงิ่ แวดล้อม อัจฉริยะ พลังงานอัจฉริยะ การเดินทางและการขนส่งอัจฉริยะ เศรษฐกิจอัจฉริยะ การบริหารจัดการภาครัฐ การดารงชีวิต อัจฉริยะ และพลเมืองอัจฉริยะอันเป็นพื้นฐานของการพัฒนาเมือง นามาผ่านการบูรณาการแผนเมืองอัจฉริยะเพื่อส่งเสริม การพัฒนาสู่เมืองมหาวิทยาลัยอย่างยัง่ ยืน โดยคณะอาจารย์ นักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญที่อยู่ในพื้นที่มาอย่างยาวนานที่เล็งเห็น ปัญหาของการพัฒนาพื้นที่อันมาจากมหาวิทยาลัยถือเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ที่มักสร้างการเปลี่ยนแปลงของการใช้ประโยชน์ ที่ดินโดยรอบอย่างรวดเร็ว เพื่อรองรับการพัฒนาทัง้ โครงสร้างพื้นฐานและอสังหาริมทรัพย์ที่เติบโตอย่างรวดเร็ว จึงทาให้ พื้นที่มหาวิทยาลัยเป็นเสมือนจุดเกิดเหตุที่ต้องเร่งแก้ไขตั้งแต่ต้นเหตุด้วยการบูรณาการความรู้จากหลากหลายศาสตร์ ร่วมกัน โดยในระดับของปัญหา พบว่า จังหวัดปทุมธานี นับได้ว่าเป็นพื้นที่ที่มี่ความเสี่ยงทัง้ ปัญหาอาชญากรรม อุบัติเหตุ ทางถนน มลพิศทางอากาศจากการเผาทุ่งนา หรือขยะ หรือจากโรงงานอุตสาหกรรม ตลอดจนแรงงานด่างด้าวที่อพยพเข้า มาหาแหล่งงาน และการเติบโตของจานวนผู้สูงอายุที่ยังไม่มีการวางแผนโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรอง รับการใช้งานใด ๆ รวมถึงปัญหาจราจรติดขัดที่นับว่าเป็นปัญหาที่แก้ไม่ตก ซึ่งปัญหาดังกล่าวมีแนวโน้มเพมิ่ ขึ้นอย่างมากในอนาคต อนึ่ง พื้นที่มหาวิทยาลัย (Campus Town) เป็นพื้นที่แห่งการขับเคลื่อนนวัตกรรม ด้วยการวิจัยและการพัฒนา เป็นพื้นฐานของการพัฒนาประเทศ แผนงานวิจัยจึงเล็งเห็นว่า พื้นที่มหาวิทยาลัยควรเป็นพื้นที่ทดสอบนวัตกรรม (Test Bedding) ซึ่งจากการทบทวนวรรณกรรมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะมาทัว่ โลก พบว่า ร้อยละ 90 การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ที่ประสบความสา เร็จมาจากการใช้พื้นที่มหาวิทยาลัยเป็นพื้นที่ทดสอบนวัตกรรมโดยทัง้ สิ้น คณะผู้วิจัยได้ทา เชื่อมโยงให้ เห็นความสัมพันธ์ของการเกื้อกูลและสนับสนุนการทางานระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคการศึกษา ล้วนเกิด “พื้นที่ตรงกลาง (Innovation Space)” ให้มหาวิทยาลัยเป็นแกนหลัก (Core Action) ภาคเอกชนเข้ามาช่วยเสริม เทคโนโลยีและกระตุ้นนวัตกรรมใหม่ ๆ ในพื้นที่ (Support Action) และภาครัฐ เป็นส่วนขับเคลื่อน ที่มาพร้อมข้อกา หนด กฎหมาย และมาตรการ เพื่อสร้างระบบนิเวศเมืองแห่งการสร้างสรรค์ (Driven Action)
Title
An Integration of Smart City Planning towards Sustainable Campus Town DevelopmentKeywords
Feeder,Campus Town,Urban Development,Smart mobility,Smart Campus,Digital Community,vulnerability group,smart people,social Justice,Urban Analysis Platforms for Enhancing Smart Land Use Planning Elderly,ICT,Digital platform for data and device management,Sensor,Neuron Network,AI,Living Lab,Gaming Simulation,Smart Bus,Data mining Urban Tree Inventory and Monitoring System,Arboriculture Information Management,Smart Green City Accessible Building,Smart PeopleAbstract
–